Page 8 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 8

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017   3

                กับผูรับบริการอยางไร กลัวพูดกับผูรับบริการไมรูเรื่อง ไมสามารถนําความรูที่ไดรับจากการเรียน
                ในภาคทฤษฎีไปสูการปฏิบัติไดอยางเปนรูปธรรม ไมสามารถวิเคราะหตนเอง และการแสดงออก

                ทางภาษากายได จึงเกิดความลมเหลวในการเขาถึงปญหาของผูรับบริการ ในการฝกปฏิบัติสราง
                สัมพันธภาพกับผูรับบริการ นักศึกษาพยาบาลมีอาจารยนิเทศหรืออาจารยพี่เลี้ยงดูแลอยาง
                ใกลชิดเพื่อใหคําปรึกษาและแนะนําแนวทางในการแกปญหาที่จะเกิดขึ้นในทั้งกอนสราง
                สัมพันธภาพ ขณะสรางสัมพันธภาพ และหลังสรางสัมพันธภาพ การวิเคราะหและตีความหมาย
                พฤติกรรม เพื่อใหการสรางสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดเกิดประโยชนสูงสุดตอนักศึกษาและ

                ผูรับบริการ ในการพัฒนาสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด นักศึกษาพยาบาลจะตองเขาใจถึง
                ความหมายของสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด ลักษณะสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด องคประกอบของ
                สัมพันธภาพเพื่อการบําบัด ขั้นตอนสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด เทคนิคสนทนาเพื่อการบําบัด

                และปญหาที่อาจเกิดขึ้นในขณะสรางสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด การวิเคราะหตีความหมาย
                พฤติกรรมของผูรับบริการ

                ความหมายสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด

                        ไดมีผูใหความหมายสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดไววา (Varcarolis and Other, 2005)
                เปนปฏิสัมพันธระหวางผูใหการบําบัดกับผูรับบริการ เปนหัวใจสําคัญของวิธีการบําบัดทางจิตเวช
                โดยมีเปาหมายเฉพาะผูใหการบําบัดมีการดําเนินสัมพันธภาพอยางเปนขั้นตอน เนนความ
                ปลอดภัยเปนหลัก เปนความลับ นาเชื่อถือมีความสม่ําเสมอ และมีขอบเขตชัดเจน นอกจากนี้

                (สุวนีย เกี่ยวกิ่งแกว, 2554) ไดนิยามสัมพันธภาพเพื่อการประกอบวิชาชีพ (Professional
                Relationship) เปนสัมพันธภาพที่เกิดขึ้นระหวางผูประกอบวิชาชีพ และผูมาติดตอขอรับบริการ
                ดานวิชาชีพ ผูประกอบวิชาชีพเปนผูใหความชวยเหลือ โดยอาศัยความรูความสามารถและทักษะ
                ที่ไดรับการฝกฝนจากสถาบันการศึกษาดานวิชาชีพ ยึดกฎเกณฑ ระเบียบ จรรยาบรรณวิชาชีพ

                เชน สัมพันธภาพระหวางนักศึกษาพยาบาลกับผูรับบริการ แพทยกับผูรับบริการ นักจิตวิทยากับ
                ผูรับบริการ และนักสังคมสงเคราะหกับผูรับการสงเคราะห
                        จากการใหความหมายดังกลาวขางตน สัมพันธภาพเพื่อการบําบัด เปนสัมพันธภาพที่
                เกิดขึ้นระหวางผูประกอบวิชาชีพ ซึ่งเปนผูใหการบําบัดกับผูรับบริการ โดยมีการกําหนด

                วัตถุประสงคการสรางสัมพันธภาพอยางชัดเจน มีความสม่ําเสมอ นําไปสูสัมพันธภาพที่ปลอดภัย
                โดยผูใหการบําบัดเก็บรักษาความลับของผูรับบริการ มีความนาเชื่อถือ มีการเริ่มตนและการสิ้นสุด

                ลักษณะสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดเชิงวิชาชีพ (Professional Relationship)

                        สัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ แตกตางจากสัมพันธภาพทางสังคม ซึ่งสัมพันธภาพเชิงวิชาชีพ มี
                จุดมุงหมายเพื่อการชวยเหลือผูรับบริการ มีเหตุผลเปนพื้นฐานในความสัมพันธ ดําเนิน
                กระบวนการสัมพันธภาพอยางมีขั้นตอน มีการวางแผนเปนขั้นตอน ผูดําเนินการใชความรูความ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13