Page 7 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 7

2  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

             is intended to be utilized as a guideline for the development of therapeutic
             relationships for nursing students. Nursing students must have knowledge and

             understanding  of  the  relational elements for  treatment in  the  conversation
             process of  healing.   This article  presents a  framework  for building therapeutic
             relationship between nursing students and patients and encourages nursing students
             to learn to become more effective  role models. The teaching model, feedback
             information,  social reinforcement  and suggested  training and practice for nursing

             students is demonstrated using simulated situations. This is a guideline for building
             relationships between nursing students and psychiatric patients. This guideline will be
             beneficial in teaching nursing students about general mental health and psychiatric

             nursing in order to provide a more efficient and beneficial result.
             Keywords: Guidelines for building relationship, therapeutic relationship, nursing
             students


             บทนํา
                      สัมพันธภาพเพื่อการบําบัด (Therapeutic Relationships) เปนสัมพันธภาพที่เกิดขึ้น
             ระหวางผูบําบัดและผูรับบริการโดยผูบําบัดใชตัวเองเปนเครื่องมือในการบําบัดผูรับบริการ ซึ่ง
             ผูรับบริการเปนผูที่มีความทุกขใจ ในกระบวนการมีการกําหนดวัตถุประสงคการสราง

             สัมพันธภาพชัดเจน ผูบําบัดนําความรูทักษะและประสบการณที่ไดรับการฝกฝน นําไปสู
             สัมพันธภาพระหวางผูบําบัดกับผูรับบริการ เปนสัมพันธภาพที่ปลอดภัย โดยผูบําบัดเก็บรักษา
             ความลับของผูรับบริการ เปนผูที่มีความนาเชื่อถือ มีการเริ่มตนและการสิ้นสุดสัมพันธภาพ (อร
             พรรณ ลือบุญธวัชชัย, 2554) อธิบายไววา กระบวนการใชสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด ผูบําบัด

             จะตองทําหนาที่คลายนักจิตวิเคราะห จะตองเขาถึงประสบการณในอดีต และแกไขสัมพันธภาพ
             ระหวางบุคคล บุคคลที่เหมาะสมกับผูบําบัดสัมพันธภาพเพื่อการบําบัด จะดําเนินไปไดดวยดี
             ประกอบดวยองคประกอบ 5 องคประกอบ ดังนี้ (College of Nurse of Ontario Revised

             2006, 2013) 1) ดานความไววางใจจากผูรับบริการ (Trust) 2) ดานสัมพันธภาพใกลชิดเชิง
             วิชาชีพ (Professional Intimacy) 3) ดานพลังในการชวยเหลือผูรับบริการ (Power) 4) ดาน
             เคารพผูรับบริการ (Respect) 5) ดานเอาใจใสผูรับบริการ (Empathy) การพัฒนาแตละ
             องคประกอบสัมพันธภาพเพื่อการบําบัดสําหรับนักศึกษาพยาบาล (สมจิตรา นาวา, 2559) ได
             อธิบายวาเปนสิ่งที่ยากลําบาก เนื่องจากนักศึกษาพยาบาลยังขาดประสบการณในภาคสนามเชิง

             บําบัดกับผูรับบริการจิตเวช การดูแลผูรับบริการที่มีปญหาทางดานสุขภาพจิตหรือผูที่เจ็บปวย
             ทางจิต นักศึกษาจะมีความกลัวและวิตกกังวลในการสรางสัมพันธภาพ กลัวผูรับบริการทําราย
             รางกาย กลัวผูรับบริการปฏิเสธการสนทนาเพื่อการบําบัด วิตกกังวลไมทราบจะสรางสัมพันธภาพ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12