Page 78 - JRIHS_VOL1
P. 78

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.1 April-June 2017  73

               ตารางที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการรับรู้กับพฤติกรรมการตรวจสุขภาพ


                                                  พฤติกรรมการตรวจสุขภาพ
                         ตัวแปร                      จํานวน (ร้อยละ)             χ     p-value
                                                                                   2
                                         ระดับสูง   ระดับปาน  ระดับต่ํา   รวม
                                                    กลาง
                การรับรู้ประโยชน์ในการตรวจ
                สุขภาพ
                ระดับสูง                 26 (100)   34 (97.1)   36 (85.7)   96 (93.2)   5.289*   0.060
                ระดับปานกลาง              0 (0)     1 (2.9)   6 (14.3)   7 (6.8)
                ระดับต่ํา                   -         -        -         -
                การรับรู้อุปสรรคในการตรวจ
                สุขภาพ
                ระดับสูง                 6 (23.1)   9 (25.7)   2 (4.8)   17 (16.5)   13.352   0.009
                ระดับปานกลาง             15 (57.7)   11 (31.4)   17 (40.5)   43 (41.7)
                ระดับต่ํา                5 (19.2)   15 (42.9)   23 (54.8)   43 (41.7)
                การรับรู้ปัจจัยกระตุ้นในการตรวจ
                สุขภาพ
                ระดับสูง                 24 (92.3)   23 (65.7)   21 (50.0)   68 (66.0)   16.371*   0.001
                ระดับปานกลาง              2 (7.7)   11 (31.4)   13 (31.0)   26 (25.2)
                ระดับต่ํา                 0 (0.0)   1 (11.1)   8 (88.9)   9 (8.7)
                รวม                      26 (25.2)   35 (34.0)   42 (40.8)   103 (100.0)
               *Fisher Exact Test


               สรุปและอภิปรายผล

                      จากการศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจสุขภาพของผู้สัมผัส
               อาหาร ในเขตเทศบาลตําบลเมืองศรีไค อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี อภิปรายผล

               แยกตามสมมติฐานของการศึกษาดังนี้
                      สมมติฐานข้อที่ 1 เพศมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจสุขภาพ

                      จากผลการวิจัยพบว่า เพศ ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจสุขภาพของผู้สัมผัส

               อาหาร ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ อัจฉรา ว่องไวโรจน์ (2548) ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มี
               ความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจสุขภาพประจําปีของพนักงานบริษัทประกันชีวิต พบว่าเพศ

               ไม่มีความสัมพันธ์กับการตรวจสุขภาพ และสอดคล้องกับงานวิจัยของวารินทร์ ปุยทอง (2547)
               ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของประชาชนในเขตองค์การ
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83