Page 83 - JRIHS_VOL1
P. 83
78 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.1 April-June 2017
ไปตรวจสุขภาพ ดังนั้นการกระตุ้นให้ผู้สัมผัสอาหารไปตรวจสุขภาพควรให้บุคลากรทางการ
แพทย์ในพื้นที่กระตุ้นให้ผู้สัมผัสอาหารเล็งเห็นความสําคัญของการตรวจสุขภาพ โดยการเพิ่ม
นโยบายการตรวจสุขภาพที่ชัดเจนจําเพาะเจาะจงในกลุ่มของผู้สัมผัสอาหาร
ข้อเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งต่อไป
1. ควรศึกษาตัวแปรปัจจัยในแนวคิดแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพเพิ่มเติม ได้แก่ การ
รับรู้โอกาสเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรงของโรคเพื่อให้เกิดแนวทางการสนับสนุนการตรวจสุขภาพ
ที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมหลายด้านมากขึ้นควรมีการศึกษาแนวคิดทฤษฎีเพิ่มเติม
เนื่องจากยังมีทฤษฏีที่สามารถศึกษาพฤติกรรมในด้านอื่นๆ ได้อีก เช่น การรับรู้ตนเองภายนอก -
ภายใน Social Cognitive Model PRECEDE-PROCEED Model เป็นต้น
2. ควรมีการศึกษาเกี่ยวกับโอกาสเสี่ยงหรือโรคที่อาจเกิดกับผู้สัมผัสอาหารเพิ่มเติมเพื่อ
เพิ่มความชัดเจนให้กับปัญหาที่ทําการศึกษา
3. ควรใช้รูปแบบการศึกษาที่สามารถบอกถึงความแตกต่างที่ชัดเจนขึ้น เช่น case-
control เป็นต้น และมีการใช้สถิติที่สามารถบอกปัจจัยเชิงสาเหตุที่ชัดเจนขึ้น เช่น multiple
linear regression เป็นต้น
เอกสารอ้างอิง
กรมการแพทย์. (2559). เเนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเป็นและเหมาะสมสําหรับประชาชน.
สืบค้นจาก http://203.157.39.7/imrta/images/dms20160325.pdf
กรมประชาสัมพันธ์ สํานักประชาสัมพันธ์เขต2. (2558). โรงพยาบาลวารินชําราบ จัดหน่วย
บริการตรวจสุขภาพเคลื่อนที่ ประจําปี งบประมาณ 2559. สืบค้นจาก
http://region2.prd.go.th/ewt_news.php?nid=132841&filename=index
กรมพัฒนาชุมชน. (2556) คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจําปี เพื่อคัดกรอง
ความ เสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และความดันสูง ปี 2556. สืบค้นจากhttps://www.m-
society.go.th/ewt_news.php?nid=11855
ชัยอนันต์ ยุวพัฒนวงศ์. (2558). ประโยชน์ของการคัดกรองสุขภาพ. สืบค้นจาก
https://www.samitivejhospitals.com/th/
ปิยาภรณ์ นิกข์นิภา. (2549). ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจของ
เจ้าหน้าที่กรมสนับสนุนบริการสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์
มหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.