Page 76 - JRIHS_VOL1
P. 76
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.1 April-June 2017 71
ตารางที่ 2 จํานวนและร้อยละประวัติพฤติกรรมการตรวจสุขภาพและระดับพฤติกรรมการตรวจ
สุขภาพ
ตัวแปร จํานวน ร้อยละ
ประวัติพฤติกรรมการตรวจสุขภาพ
เคย 72 69.9
ไม่เคย 31 30.1
ระดับพฤติกรรมการตรวจสุภาพ
ระดับสูง 26 25.2
ระดับปานกลาง 35 34.0
ระดับต่ํา 42 40.8
เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการตรวจสุขภาพ
พบว่า เพศ อายุ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และระดับการศึกษา ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ
ตรวจสุขภาพอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.01 และกลุ่มตัวอย่าง ร้อยละ 40.8 มีพฤติกรรม
การดูแลสุขภาพอยู่ในระดับต่ํา รองลงมาคืออยู่ในระดับปานกลางและระดับสูง ร้อยละ 34.00
และร้อยละ 25.2 ตามลําดับรายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 3
ตารางที่ 3 ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลลักษณะส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการตรวจสุขภาพ
พฤติกรรมการตรวจสุขภาพ
2
ตัวแปร จํานวน (ร้อยละ) χ p-value
ระดับสูง ระดับ ระดับต่ํา รวม
ปานกลาง
เพศ
ชาย 8 (30.8) 8 (22.9) 13 (44.8) 29 (28.2) 0.736 0.692
หญิง 18 (69.2) 27 (77.1) 29 (69.0) 74 (71.8)
อายุ
19 - 29 ปี 5 (19.2) 8 (22.9) 12 (28.6) 25 (24.3)
30 – 39 ปี 4 (15.4) 10 (28.6) 11 (26.2) 25 (24.3) 3.162 0.788
40 – 49 ปี 11 (42.3) 11 (31.4) 12 (28.6) 34 (33.0)
50 ปีขึ้นไป 6 (23.1) 6 (17.1) 7 (16.7) 19 (18.4)