Page 77 - JRIHS_VOL1
P. 77

72  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.1 April-June 2017

                                         พฤติกรรมการตรวจสุขภาพ
                     ตัวแปร                 จํานวน (ร้อยละ)                     χ      p-value
                                                                                 2
                                   ระดับสูง    ระดับ      ระดับต่ํา    รวม
                                              ปานกลาง
                รายได้เฉลี่ยต่อเดือน
                น้อยกว่า 12,000 บาท   10 (38.5)   13 (37.1)   8 (19.0)   31 (30.1)

                12,001 - 36,000 บาท   11 (42.3)   19 (54.3)   25 (59.5)   55 (53.4)   8.287   0.218
                36,001 – 60,000 บาท   2 (7.7)   2 (5.7)   7 (16.7)   11 (10.7)
                มากกว่า 60,001 บาท   3 (11.5)   1 (2.9)   2 (4.8)     6 (5.8)
                ระดับการศึกษา
                ประถมศึกษา         6 (23.1)   10 (28.6)   15 (35.7)   31 (30.1)
                มัธยมศึกษาตอนต้น   3 (11.5)    4 (11.4)   6 (14.3)   13 (12.6)
                มัธยมศึกษาตอนปลาย/  8 (30.8)   8 (22.9)   7 (16.7)   23 (22.3)
                ปวช.                                                           7.968    0.632
                อนุปริญญา/ปวส.      2 (7.7)    2 (5.7)    5 (11.9)    9 (8.7)
                ปริญญาตรี          4 (15.4)   10 (28.6)   8 (36.4)   22 (21.4)
                อื่นๆ              3 (11.5)    1 (2.9)    1 (2.4)     5 (4.9)
                รวม                26 (25.2)   35 (34.0)   42 (40.8)   103 (100.0)

                    จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการรับรู้ประโยชน์กับพฤติกรรมสุขภาพ พบว่า
            ปัจจัยด้านการรับรู้ประโยชน์ในการตรวจสุขภาพไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจสุขภาพ

            อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ประโยชน์ในการตรวจสุขภาพ
            อยู่ในระดับสูง ร้อยละ 93.2 รองลงมาคือ มีการรับรู้ประโยชน์อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 6.8

                    ความสัมพันธ์ของการรับรู้อุปสรรคกับพฤติกรรมสุขภาพ พบว่า ปัจจัยด้านการรับรู้

            อุปสรรคในการตรวจสุขภาพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจสุขภาพอย่างมีนัยสําคัญทาง
            สถิติที่ระดับ 0.01 และกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้อุปสรรคในการตรวจสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง

            และระดับต่ํา ร้อยละ 41.7 รองลงมาคือ มีการรับรู้อุปสรรคอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 16.5

                    ความสัมพันธ์ของปัจจัยกระตุ้นกับพฤติกรรมสุขภาพ พบว่า ปัจจัยด้านกระตุ้นในการ
            ตรวจสุขภาพมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการตรวจสุขภาพอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ

            0.01 โดยกลุ่มตัวอย่างมีการรับรู้ปัจจัยกระตุ้นในการตรวจสุขภาพอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 66.0

            รองลงมาคือ มีการรับรู้ปัจจัยกระตุ้นในระดับปานกลางและระดับต่ํา ร้อยละ 25.2 และร้อยละ
            8.7 ตามลําดับ รายละเอียดดังแสดงในตารางที่ 4
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82