Page 36 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 36

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018   31

                ใหขอมูลนาเชื่อถือ สอดคลองกับ ณัฐพงศ รัตนรังษี (2559, น.10) กลาววา งานงบประมาณถือเปน
                งานที่สําคัญและเกี่ยวเนื่องกับการบริหารทุกขั้นตอน เริ่มตั้งแตการวิเคราะห การวางแผน การจัด

                ดําเนินงาน ตลอดจนถึงการดําเนินการควบคุม เพื่อใหงานดําเนินไดโดยเรียบรอยตามแผนและบรรลุ
                วัตถุประสงคที่ตั้งไว งบประมาณจะเปนสิ่งบงชี้แนวความคิดในการบริหารงาน ตลอดจนวิธีดําเนินงาน
                งานงบประมาณจะมีความสัมพันธเกี่ยวของกับวัตถุประสงค นโยบาย วิธีการดําเนินงาน และโครงการ
                ของหนวยงาน งบประมาณในรูปแบบที่เหมาะสม มีเหตุผล จะเปนการชวยสงเสริมการดําเนินงานของ
                หนวยงานใหบรรลุวัตถุประสงคไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สอดคลองกับ พเยาว สุดรัก

                (2553, น.79) การบริหารมุงผลสัมฤทธิ์มีความเชื่อมโยงโดยตรงกับการบริหารงานเชิงกลยุทธ องคกร
                ใชวิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค และกลยุทธซึ่งอยูในแผนกลยุทธขององคกรเปนกรอบในการ
                กําหนดปจจัยหลักแหงความสําเร็จ และตัวชี้วัดผลการดําเนินงานหลักของการบริหารมุงผลสัมฤทธิ์

                เปนเครื่องมือชวยประเมินความสําเร็จของการดําเนินการตามกลยุทธ องคกรที่มีการบริหารเชิงกล
                ยุทธสามารถใชปจจัยหลักแหงความสําเร็จ และตัวชี้วัดผลการดําเนินงานหลักของการบริหารมุง
                ผลสัมฤทธิ์ เปนกรอบวัดผลการปฏิบัติงานขององคกรเทียบกับเปาหมาย เพื่อใหรูถึงความกาวหนา
                ของการบรรลุวิสัยทัศน หากผลงานยังไมเปนไปตามเปาหมาย ผูบริหารองคกรควรปรับเปลี่ยนกล

                ยุทธใหเหมาะสม
                            3.2 สมรรถนะทางการปฏิบัติงานดานการสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ มี
                ผลกระทบกับประสิทธิภาพดานการบริหารงบประมาณแบบมุงเนนผลงานตามยุทธศาสตร ดานการ
                คํานวณตนทุนตอหนวยผลผลิต เนื่องจาก องคกรสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนงบประมาณ

                โดยวิธีการตาง ๆ เพื่อใหสอดคลองกับการปฏิบัติงานโดยการคํานวณตนทุนผลผลิต เปนตัวชี้วัดอยาง
                หนึ่งในการวัดประสิทธิภาพในการดําเนินงาน รวมถึงเปนประโยชนในการพิจารณาทบทวนการ
                ดําเนินงานของสถานศึกษาวา การดําเนินโครงการกอใหเกิดประสิทธิภาพหรือประสิทธิผลหรือไม
                สอดคลองกับ ณัฐพงศ รัตนรังสี (2559, น.16) กลาววา การคํานวณตนทุนกิจกรรม เปนสิ่งจําเปน

                อยางหนึ่งสําหรับการจัดทํางบประมาณ โดยตนทุนกิจกรรมจะเปนตนทุนหรือคาใชจาย หรือรายจาย
                ที่เกิดขึ้นจากการจายเงินหรือทรัพยากร เพื่อใหไดมาซึ่งสินคาหรือบริการ และตนทุนกิจกรรมจะเปน
                ตัวที่แสดงถึงราคาของผลผลิตหรือบริการ เปนตัวชี้วัดอยางหนึ่งในการวัดประสิทธิภาพในการ
                ดําเนินงาน รวมถึงเปนประโยชนในการพิจารณาทบวนการดําเนินงานของสถานศึกษาวา งาน/

                โครงการ จะดําเนินการตอไปหรือหยุดดําเนินการ หากการดําเนินการไมมีประสิทธิภาพและ
                ประสิทธิผล ตนทุนกิจกรรมแบบมุงเนนผลงานจึงเปนการคํานวณคาใชจายจากกิจกรรมที่กอใหเกิด
                ผลผลิตนั้น ๆ การคํานวณตนทุนกิจกรรม จึงเปนการคิดคํานวณตนทุนหรือคาใชจายที่เกิดจากการใช
                ทรัพยากรทางการศึกษาเพื่อทํากิจกรรมตามงาน/โครงการที่วางไว หรือการใหบริการอื่น ๆ ใหเกิด

                ประโยชนสูงสุดแกผูเรียน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41