Page 47 - JRISS-vol.2-no1
P. 47
42 Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018
2. การเปรียบเทียบผูบริหารสถานศึกษาและครูผูสอน โรงเรียนในสังกัดสํานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 โดยจําแนกตามตําแหนง ประสบการณในการทํางาน และ
ขนาดโรงเรียน มีความคิดเห็นตอสภาพและปญหาการนิเทศภายในของโรงเรียน สังกัด
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 29 ทั้งโดยรวมและรายดานไมแตกตางกัน
3. แนวทางการนิเทศภายในโรงเรียน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 29 คือควรแตงตั้งคณะกรรมการ และสํารวจวันเวลาที่ครูตองการรับการนิเทศ เพื่อ
กําหนดแผนการนิเทศ ตองจัดลําดับความสําคัญของปญหาและหาแนวทางแกไขที่ชัดเจน
กําหนดใหมีการนิเทศตามปฏิทิน โดยมีตัวแทนจากผูบริหาร ฝายวิชาการและครูผูสอน เพื่อให
สามารถทําการนิเทศไดตามวันเวลาที่กําหนด จัดทําปฏิทินการนิเทศใหกับผูนิเทศและผูถูก
นิเทศไดรับทราบกอนที่จะมีการปฏิบัติตามแผน ใหมีการนิเทศภายในอยางสม่ําเสมอและมี
การประเมินอยางตอเนื่อง
คําสําคัญ: การนิเทศภายในโรงเรียน
Abstract
The research aimed 1) to study the states and problems of the internal
supervision of the schools attached to the Office of the Secondary Education
Service Area 29, 2) to compare the opinion concerning the states and problems
of the internal supervision of the school in the study, and 3) to find the
guidelines for the internal supervision. The samples used were 458 school
administrators and teachers of the schools affiliated to the Office of the
Secondary Education Service Area 29. The sample size was determined by
Krejcie and Morgan’s table. Statistics used in the research were frequency,
percentage, standard deviation, t-test and F-test.
The research findings were as follows.
1. The internal supervision of the schools under the Office of the
Secondary Education Service Area 29 was found to be at a high level. The
problems related to the internal supervision in the schools under study were
overall at a low level.
2. The school administrators and teachers affiliated to the Office of
the Secondary Education Service Area 29 as classified by positions, working
experience, and school size had no different opinion on the internal supervision
of the schools under study.