Page 59 - JRISS-vol.1-no.3
P. 59

54  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

             low: Transparency, Accountability, Rule of Law, Participation, Value for Money, and
             Morality.
                     3.  Administrational  needs according to Good Governance Principles in

             Mueang Sumrong-Khampom School cluster under the jurisdiction of the Office of
             Primary Education in Ubon Ratchathani Region 4, revealed that Need Index as a
             whole was .09. When considering individually, the Need Indexes were rankly high to
             low as follows: Transparency, Participation, Accountability, Rule of Law, Morality, and

             Value for Money.
             Keywords:  Administrational Needs, Good Governance


             บทนํา
                     รัฐบาลได้ออกพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมือง
             ที่ดี พ.ศ. 2546 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่ วันที่ 10 ตุลาคม 2546 เพื่อให้การปฏิบัติงานของส่วน
             ราชการตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศ และให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
             ยิ่งขึ้น (สถาบันที่ปรึกษาเพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในราชการ, 2548 หน้า 1) พิจารณา

             หลักเกณฑ์ ดังนี้ (1) ต้องมีความเหมาะสมกับลักษณะของงานแต่ละหน่วยงาน (2) ต้อง
             สามารถนําไปปฏิบัติได้และมีความโปร่งใสในตัวชี้วัดเอง (3) ต้องมีคุณภาพและความแม่นยํา
             ของตัวชี้วัดและกรอบตัวชี้วัด (4) ต้องมีข้อมูลที่สนับสนุนการได้มาซึ่งตัวชี้วัด (5) ต้องสามารถ

             ระบุผลที่จะได้รับจากตัวชี้วัดได้อย่างชัดเจน บทบาทผู้บริหารและสภาพการบริหารงานตาม
             หลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อให้การดําเนินงานบรรลุเป้าหมายหรือ
             วัตถุประสงค์ที่กําหนดไว้ในการดําเนินงานของสถานศึกษาให้สําเร็จลุล่วงไปด้วยดี มี
             ประสิทธิภาพ โดยการใช้หลักธรรมาภิบาล ประกอบด้วย 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลัก

             คุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า
             ในภาระงาน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านงานวิชาการ ด้านงานงบประมาณ ด้านงานบริหารงานบุคคล
             ด้านงานบริหารทั่วไป ดังนั้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการบริหารงานของสถานศึกษา ที่
             เป็นไปตามหลักการบริหารงานที่ดีตามหลักการธรรมาภิบาลได้นั้น จึงจําเป็นต้องมีวิธีการที่จะ

             ประเมินระบบการบริหารที่เป็นอยู่ ว่ามีประสิทธิภาพมากน้อยแค่ไหน ที่สําคัญเป็นไปตาม
             วัตถุประสงค์ของระบบธรรมาภิบาล ที่หัวใจของการบริหารอยู่ที่ความโปร่งใส เป็นธรรม และ
             การมีส่วนร่วมหรือไม่ วิธีการหนึ่งที่สามารถประเมินระบบการบริหารได้โดยดูจากข้อมูลของ
             สภาพความเป็นจริงในปัจจุบันกับความต้องการที่แท้จริงในการบริหารจัดการด้านการศึกษา

             (สุวิมล ว่องวาณิช 2542, หน้า 12)
                     จากความสําคัญของหลักธรรมาภิบาล การบริหารการศึกษา และการประเมินความ
             ต้องการจําเป็นดังกล่าวมา ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะประเมินสภาพที่เป็นจริงในการบริหารงานของ
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64