Page 42 - JRISS-vol.1-no.3
P. 42
Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017 37
3. The results of the guidelines for developing the power exercises of the
school administrators under the jurisdiction of the Secondary Educational Service
Area Office 29 revealed as follows: 1) Expert Power, the administrator should develop
in the area of curriculum development, research for educational quality
development, personnel planning, knowledge and guideline on organizational
control, and budget planning and proposal, budget allocation, financial management,
accountant and resource management. 2) Legitimate power, the administrator
should develop in the areas of regulations related to supervision and control
teachers’ performance, disciplines and, regulation on salary and promotion. 3)
Coercive Power, the administrator should develop on command power, punishment,
both on teaching, working on time, and behaviors. 4) Reference Power, the
administrator should develop in the areas of cooperation of academic development
and co- working with other organizations to promote efficient performance. 5)
Information Power, the administrator should develop in the areas of educational
medias, innovation and technology, educational supervision, counseling, promoting
community knowledge, systems and information networking development,
cooperation and educational network development, information technology, and
public relations on education.
Keywords: Opinions, Power Exercises of School Administrators
ความเป็นมาและความสําคัญ
การศึกษาเป็นเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาประชากรให้มีคุณภาพ มีความรู้
ความสามารถ ฉลาดเฉียบคม การบริหารการจัดการศึกษาจึงเป็นสิ่งที่จําเป็นและสําคัญมาก
ที่สุด เพราะจะเป็นเบ้าหล่อหลอม ขัดเกลาแนวคิดให้ประชากรเป็นผู้มีศักยภาพของประเทศ
ผู้บริหารจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการบริหาร บทบาทหน้าที่ ความสําคัญของ
การบริหารการศึกษา ต้องมีความรู้เกี่ยวกับแนวคิด หลักทฤษฎีการบริหารการศึกษา พร้อมทั้ง
สามารถนําความรู้ต่างๆ ดังกล่าว ไปประยุกต์ใช้ในการบริหารการศึกษาของสถานศึกษา ให้มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น มีความรอบรู้เกี่ยวกับการจัดการดําเนินการ มีความรู้ความเข้าใจ
เกี่ยวกับเทคนิคการสร้างมนุษยสัมพันธ์ มีความเป็นผู้นํา รู้วิธีการปรับเปลี่ยน และพัฒนา
องค์การให้นําสมัย ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ สามารถคิดวิเคราะห์ และเข้าใจปัญหาการบริหาร
การศึกษา (กษิภณ ชินวงศ์, 2550 : 2) ฉะนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาจึงเป็นกลไกที่สําคัญในการ
ขับเคลื่อนการดําเนินงานของสถานศึกษาไปสู่เป้าหมายที่กําหนดไว้ แม้ว่าในความเป็นจริงแล้ว
ครูและบุคลากรในสถานศึกษาเป็นกําลังหลักในการดําเนินงานก็ตาม แต่หากขาดผู้บริหารที่มี