Page 37 - JRISS-vol.1-no.3
P. 37

32  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences :  Vol.1 No.3 October-December 2017

                     3. สถานศึกษาควรส่งต่อนักเรียนที่มีปัญหายุ่งยากซับซ้อนและต้องการความ
             ช่วยเหลือเฉพาะทาง ให้ผู้เชี่ยวชาญหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรับการช่วยเหลือต่อไป
                     4. โรงเรียนควรประเมินผลการดําเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เพื่อจะได้

             ข้อมูลสารสนเทศที่จะนําไปสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
                     ข้อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งต่อไป
                     1. ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับแนวทางการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาพฤติกรรมของ
             นักเรียน

                     2. ควรมีการวิจัยสภาพระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน

             กิตติกรรมประกาศ

                     วิทยานิพนธ์ฉบับนี้สําเร็จได้เป็นอย่างดีด้วยความอนุเคราะห์จาก ผศ.ดร.อานันท์
             ทาปทา ผศ.ดร.ชวนคิด มะเสนะ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ที่ได้เสียสละเวลาอันมีค่า
             เพื่อให้คําปรึกษา แนะนํา ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ด้วยความเอาใจใส่อย่างดียิ่งตลอด
             มา ผู้วิจัยซาบซึ้งในความกรุณาและความเป็นแบบอย่างที่ดีของท่านเป็นอย่างมาก
                     ผู้วิจัยกราบขอบพระคุณ คุณแม่มาลี กล้าหาญ และคุณแม่สมคิด ยอดมั่น ที่สนับสนุน

             การศึกษาและคอยเป็นกําลังใจอย่างดียิ่งตลอดระยะเวลาที่ศึกษาและทําการวิจัย คุณค่าและ
             ประโยชน์ของวิทยานิพนธ์เล่มนี้ ผู้วิจัยขอมอบให้แก่ บิดา มารดา และครูอาจารย์ทุกท่านที่ได้
             ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้แก่ผู้วิจัย


             เอกสารอ้างอิง
             เขตพื้นที่การศึกษา ยโสธร, สํานักงาน. (2558). แนวการดําเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ
                     นักเรียน. ยโสธร:  พิมพ์ดีการพิมพ์.

             คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,สํานักงาน. (2547). การดําเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือ
                     นักเรียนในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์
                     (รสพ).
             จามจุรี จําเมือง. (2558). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ.  กรุงเทพฯ : ไฮเอ็ดพับลิชชิ่ง.

             นฤมล มะลิวัลย์. (2552). สภาพการบริหารงานตามมาตรฐานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
                     ในโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 13 จังหวัดตรัง.
                     วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลา.
             ปิยะนุช นารอง. (2550). การศึกษาปัญหาการดําเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ

                     สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ศูนย์อํานวนการเครือข่ายภูพานทอง สํานักงานเขตพื้นที่
                     การศึกษาประถมศึกษา สกลนคร เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต
                     มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42