Page 34 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 34

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018   29

                ถูกตอง หรือเรียกวา Plagiarism ซึ่งการกระทําดังกลาวถือเปนการปดบังความจริง หรือโกหก
                หลอกลวงผูอื่นใหเขาใจผิด (อรัญญา เชาวลิต, 2559)

                        3. ผลการวิจัยพบวา คาเฉลี่ยจริยธรรมการสอนของอาจารยดานการไมทําอันตราย
                นักศึกษาแมอยูในระดับมากแตเปนดานที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด ( = 3.74) ทั้งนี้อาจเนื่องจาก การฝก
                                                                 x
                ปฏิบัติงานของนักศึกษาพยาบาลตองอยูภายใตการนิเทศของอาจารยพยาบาลตามกฎหมายการ
                ควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ การปฏิบัติการพยาบาลจึงตองไดรับ
                การนิเทศและตรวจสอบความถูกตองเพื่อใหผูปวยปลอดภัยและไมเกิดอันตราย หากผูปวยไดรับ

                อันตรายในขณะเขารับการรักษาในโรงพยาบาล ถือเปนความบกพรองในหนาที่ และเปนความผิด
                ทางกฎหมายไดตามพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ ซึ่งอาจไดรับโทษ
                รุนแรงถึงขั้นเพิกถอนใบอนุญาตในการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ และโทษ

                ทางอาญาได (แสงทอง ธีระทองคําและไสว นรสาร, 2556) ดังนั้น นักศึกษาจะใหการพยาบาลที่
                ผิดพลาดไมไดเพราะความผิดพลาดยอมสงผลใหผูปวยไดรับอันตราย อาจารยพยาบาล จึงตอง
                คอยดูแลนักศึกษาอยางใกลชิดระมัดระวังไมใหเกิดความผิดพลาด และใหความสําคัญกับการ
                ปองกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผูปวย มากกวานักศึกษาพยาบาล และผลการวิจัยพบวาจริยธรรม

                การสอนของอาจารยพยาบาลขอที่มีคาเฉลี่ยต่ําสุด คือ อาจารยไมแสดงกิริยาทาทางที่ทําราย
                จิตใจนักศึกษา ทําใหรูสึกอับอายหรือดอยศักดิ์ศรี ( x=3.59) อาจารยไมใชคําพูดที่ทํารายจิตใจ
                นักศึกษา ทําใหรูสึกอับอายหรือดอยศักดิ์ศรี ( x=3.60) ทั้งนี้อาจเนื่องจาก สังคมไทยยังใหความ
                เคารพครูบาอาจารยเสมือน พอ แม คนที่สอง และมีความเชื่อในสุภาษิตที่วา “รักวัวใหผูรักลูกให

                ตี” ดวยคาดหวังวาการลงโทษดวยการตีจะทําใหลูกเปนคนดี คนเกงในอนาคต แตอยางไรก็ตาม
                อาจารยพยาบาลยังตองยึดหลักจริยธรรมในหลักการไมใชอํานาจครอบงําผิดทํานองคลองธรรม
                ตอนักศึกษาตามประกาศ ก.พ.อ.เรื่องมาตรฐานของจรรยาบรรณที่พึงมีในสถาบันอุดมศึกษา
                (2551) และไมทําอันตราย คือการกระทําที่ไมนําสิ่งเลวรายหรืออันตรายมาสูบุคคลอื่น ทั้งดาน

                รางกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ ไมวาจะเปนทางตรงหรือทางออม รวมทั้งการ  ไมทําใหผูอื่นเสี่ยง
                อันตราย ซึ่งการทํารายรางกายหรือจิตใจนักศึกษาไมวาจะดวยวิธีการใดก็ตามจะเปนอุปสรรคตอ
                การเรียนรูของนักศึกษา  (อรัญญา เชาวลิต, 2559)


                ขอเสนอแนะ
                        จากการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยขอเสนอแนะแนวทางการนําผลการวิจัยไปใชดังนี้
                        1. อาจารยพยาบาล ควรเพิ่มการตระหนักถึงจริยธรรมดานการไมทําอันตรายนักศึกษา
                ระมัดระวังการแสดงกิริยาทาทางและคําพูดที่ทํารายจิตใจ ที่ทําใหนักศึกษาพยาบาลรูสึกอับอาย

                หรือดอยศักดิ์ศรี หากตองลงโทษนักศึกษาควรเลือกใชวิธีที่เหมาะสม เชน กลาวตักเตือนดวย
                วาจา หรือการมอบหมายงานใหไปศึกษาคนควาเพิ่ม เปนตน
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39