Page 38 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 38

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018   33

                have normal nutritional conditions, whilst 36.5% (n = 146) were identified as facing
                a risk of hyponutrition. Further assessment revealed that 51.4% of the subjects in

                the  risk  group  were  prone  to  malnutrition,  whilst  30. 8%  received  adequate
                nutrition and 11.8% were suffering from hyponutrition.
                keywords: nutritional status, elderly

                บทนํา

                        สังคมไทยจะเปนสังคมผูสูงอายุอยางเต็มรูปแบบ คือ มีประชากรวัยสูงอายุรอยละ 20
                (บรรลุ ศิริพานิช, 2550) ประชากรผูสูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นยอมนํามาซึ่งปญหาของผูสูงอายุในดาน
                ตาง ๆ โดยเฉพาะปญหาสุขภาพในวัยสูงอายุจะมีธรรมชาติการเปลี่ยนแปลงในทางที่เสื่อมลง ทํา

                ใหเกิดปญหาสุขภาพซึ่งสวนใหญเปนโรคเรื้อรังทําให ผูสูงอายุตองเขารับการรักษาในโรงพยาบาล
                มากขึ้น (อัมพรพรรณ ธีรานุตร, 2552) ภาวะโภชนาการเปนปจจัยที่สําคัญตอภาวะสุขภาพและ
                ความผาสุกของผูสูงอายุ (Muurinen, et al., 2010) ขณะที่ภาวะโภชนาการที่ต่ํากวาเกณฑ จะมี
                ความสัมพันธกับพยากรณที่ไมดี เสี่ยงตอความพิการ และเสียชีวิต (Pirlich, et al.,2001) อยางไร

                ก็ตามผูสูงอายุอาจมีปญหาทางโภชนาการเกิดขึ้นได เนื่องจากวัยสูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงทาง
                รางกาย ไดแก ความอยากอาหารลดลงจากการ ทํางานของระบบประสาทเกี่ยวกับการรับรส
                กลิ่น สัมผัสเสื่อมลง การทํางานของตอมน้ําลายลดลง ปาก และลิ้นแหง ความสามารถในการบด
                เคี้ยวและการกลืนลดลง การทํางานของกระเพาะอาหาร ลําไส และการดูดซึมสารอาหารลดลง

                (Baker, 2007) นอกจากนี้ภาวะดานจิตใจ เชน ความความหวาเหว และความหดหูใจจากการที่
                บุตรหลาน ไมคอยเอาใจใส หรือถูกทอดทิ้ง ทําใหไดรับอาหารนอยลง และเสี่ยงตอภาวการณขาด
                สารอาหารได (Pirlich, et al., 2001) รวมทั้งความเสื่อมของรางกาย ความแข็งแรงที่ลดลง หรือ
                มีความเจ็บปวยพิการ และภาวะรูคิดบกพรองทําใหความสามารถในการจัดหาอาหารมา

                รับประทานเองไมได หรือลดลง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเหลานี้สงผลใหเกิดปญหาทางโภชนาการใน
                ผูสูงอายุได (Isaia, 2011)
                        ภาวะพรองโภชนาการหรือภาวะขาดสารอาหารเปนปญหาที่พบไดในผูสูงอายุทั่วโลก
                เชน ในประเทศ ฮังการีมีการศึกษาภาวะโภชนาการผูสูงอายุที่อาศัยอยูในสถานพยาบาล

                (nursing home) จํานวน 1,381 คนโดยใชแบบประเมิน the Malnutrition Universal
                Screening Tool (MUST) พบวารอยละ 38.2 ของกลุมตัวอยางมีภาวะขาดสารอาหาร
                (Lelovics, 2009) นอกจากนี้มี การศึกษาการคัดกรองภาวะโภชนาการของผูสูงอายุที่อาศัยอยูใน
                สถานพักฟนระยะยาวจํานวน 127 คน ดวย Mini Nutritional Assessment–Short Form

                (MNA®-SF) พบวารอยละ 13.4 ของผูสูงอายุกลุมตัวอยางมีภาวะขาดสารอาหาร (Isenring, et
                al.,2009) และมีการศึกษาภาวะ โภชนาการและปจจัยที่เกี่ยวของในผูสูงอายุชาวจีนที่มีอายุ
                มากกวา 90 ป ที่อาศัยในชุมชนจํานวน 632 คน โดยใชแบบประเมิน Mini Nutritional
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43