Page 39 - JRIHS VOL2 NO3 July-September 2018
P. 39

34  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.-3 July-September 2018

             Assessment (MNA®) พบวารอยละ 5.7 ของกลุมตัวอยางมีภาวะขาดสารอาหาร และรอยละ
             70.4 มีภาวะเสี่ยงตอการเกิดภาวะขาดสารอาหาร และการสํารวจภาวะโภชนาการดวยแบบ

             ประเมิน MNA® ในผูสูงอายุชาวญี่ปุนจํานวน 226 คน พบวา รอยละ 19.9 ของกลุมตัวอยาง
             ผูสูงอายุมีภาวะขาดสารอาหาร ขณะที่รอยละ 58 มีความเสี่ยงตอการเกิดภาวะขาดสารอาหาร
             (Ji, 2012) สําหรับประเทศไทย พบการวิจัยเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ ของผูสูงอายุในภาคกลาง
             และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาวะโภชนาการผูสูงอายุ โดยใชแบบประเมิน MNA® ใน
             ผูสูงอายุอําเภอพุทธมณฑลจํานวน 60 คน พบวา ผูสูงอายุรอยละ 50 มีภาวะโภชนาการอยูใน

             เกณฑดี อีกรอยละ 48.3 เปนกลุมเสี่ยงตอการขาดสารอาหาร และเพียงรอยละ 1.7 (1 คน) มี
             ภาวะขาดอาหาร และจากการศึกษาภาวะโภชนาการของผูสูงอายุที่เขารับการรักษาในแผนก
             การพยาบาลบําบัดพิเศษ จํานวน 87 คน ใชประเมินจากน้ําหนักและสวนสูง พบวา ผูสูงอายุชาย

             มีภาวะโภชนาการปกติรอยละ 49.0 รองลงมามีภาวะขาด สารอาหารรอยละ 37.3 และมีน้ําหนัก
             ตัวเกินรอยละ 13.7 ขณะที่ผูสูงอายุเพศหญิงรอยละ 58.3 มีภาวะโภชนาการปกติ มีภาวะขาด
             สารอาหารรอยละ 25.1 และมีน้ําหนักตัวเกินรอยละ 16.7 (จินตนา สุวิทวัส, 2554)
                     จะเห็นไดวา การศึกษาที่ผานมาเกี่ยวกับอุบัติการณดานภาวะโภชนาการผูสูงอายุให

             เหตุผลที่แตกตางกัน ทั้งนี้อาจเนื่องจากการใชแบบประเมินภาวะโภชนาการที่แตกตางกัน จึงมี
             ความไวและความเฉพาะเจาะจงกับการประเมินผลมีความแตกตางกัน อยางไรก็ตาม พบวาแบบ
             ประเมิน MNA® ไดรับการยอมรับวามีความไวและมีความนาเชื่อถือในการนําไปใชประเมิน
             ภาวะโภชนาการในผูสูงอายุทั้งในชุมชนและสถานบริการสุขภาพรวมทั้งเปนเครื่องมือที่ใชใน การ

             แบงผูสูงอายุที่มีภาวะโภชนาการปกติ ผูสูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงตอการขาดสารอาหารและผูสูงอายุ
             ที่มีภาวะขาดสารอาหารไดอยางชัดเจน การคัดกรองและการประเมินภาวะโภชนาการของ
             ผูสูงอายุมีความจําเปนและมีความสําคัญ (Langkamp-Henken, 2005) เนื่องจากจะชวยคนหา
             ผูสูงอายุที่มีความเสี่ยงตอภาวะขาดสารอาหาร ทําใหสามารถวางแผนใหความชวยเหลือเพื่อฟนฟู

             ภาวะโภชนาการแกผูสูงอายุกลุมเสี่ยงไดอยางทันทวงที (Skates, 2012)
                     นอกจากปญหาโรคเรื้อรังแลวปญหาทางโภชนาการเปนปญหาหนึ่งที่มีผลกระทบตอ
             สุขภาพของผูสูงอายุสวนใหญเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ซึ่งการบริโภคอาหารและ
             โภชนาการมีบทบาทสําคัญตอการชะลอความเสื่อมตามอายุ โดยสารอาหารจะชวยเสริมสราง

             หนาที่และอวัยวะตางๆของรางกายใหอยูในสภาพ สมดุลรวมทั้งบทบาทของสารอาหารในการ
             ปองกัน และบรรเทาความเจ็บปวย (สฤษดิ์ ผองแผว, 2548) ซึ่งภาวะทุพโภชนาการจะสงผลตอ
             การพยากรณโรคโดยจะสงผลใหโรครุนแรงขึ้น เกิดภาวะแทรกซอนตาง ๆ ตามมา อาทิเชน การ
             ติดเชื้อ การลมเหลวของอวัยวะสําคัญ สงผลกระทบตอการหาย และผลลัพธการรักษา เพิ่มอัตรา

             การตายสูงขึ้น ระยะเวลาที่ตองอยูรับการรักษาในโรงพยาบาลนานขึ้น และคาใชจายในการ
             รักษาพยาบาลเพิ่มขึ้นดังนั้นผูสูงอายุควรไดรับการคัดกรองภาวะโภชนาการ เพื่อจะไดเปนขอมูล
             พื้นฐานสําหรับวางแผนสงเสริมหรือปรับปรุงภาวะโภชนาการในผูสูงอายุ เพื่อสงเสริมการหาย
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44