Page 49 - JRIHS VOL2 NO2 April-June 2018
P. 49

44  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.2 April-June 2018

              ปจจัยที่มีความสัมพันธและรวมทํานายพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุ

                                          ในจังหวัดอุบลราชธานี
                  The factors relating and predicting to accidental preventive

                   behaviors among the elderly in Ubon Ratchatani province

                                                                                            1
                                                                        มนพัทธ อารัมภวิโรจน0
                                                                                            1
                                                                      Monnapat Arumwiroj

             บทคัดยอ
                     การวิจัยครั้งนี้เปนเชิงพรรณนา (Descriptive Research) เพื่อศึกษาความสัมพันธและ

             ความสามารถในการรวมกันทํานายของ ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน การรับรูภาวะ
             สุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของรางกาย การสนับสนุนของครอบครัว การไดรับ
             บริการทางการแพทยและสาธารณสุขตอพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุของผูสูงอายุในจังหวัด

             อุบลราชธานี กลุมตัวอยางเปนผูสูงอายุจํานวน 290 คน โดยใชสูตรของ Lemeshow et al.
             (2006.) ใชวิธีการสุมแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling) เก็บรวบรวมขอมูล
             ดวยแบบสัมภาษณและทําการวิเคราะหขอมูลโดยใชสถิติเชิงพรรณนา เปรียบเทียบความแตกตาง
             และหาความสัมพันธดวยสถิติเชิงวิเคราะห คือ T-test One way ANOVA Pearson’s
             correlation และ Stepwise Multiple Regression Analysis ผลการวิจัยพบวา 1. ผูสูงอายุมี

             ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกันอยูในระดับสูง คิดเปนรอยละ 85.2 พฤติกรรมการ
             ปองกันอุบัติเหตุ การสนับสนุนของครอบครัว และการไดรับบริการทางการแพทยและ
             สาธารณสุข อยูในระดับมาก (̅= 2.596, S.D. = 0.651) (̅ = 2.833, S.D.=0.461) และ(̅ =

             2.731, S.D.=0.607) ตามลําดับ สวนการรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของ
             รางกาย อยูในระดับปานกลาง (̅= 1.998, S.D. = 0.478) 2. ผูสูงอายุที่มีเพศ อายุ โรค
             ประจําตัว และประสบการณการเกิดอุบัติเหตุที่ตางกัน มีพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุไม

             แตกตางกัน (p>0.05) สวนผูสูงอายุที่มีกิจกรรมประจําวันตางกัน มีพฤติกรรมการปองกัน
             อุบัติเหตุแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยผูสูงอายุที่มีกิจกรรมประจําวัน
             ทํางานบานมีระดับพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุที่ดีที่สุด (̅ = 2.899, S.D. =0.165) 3. ความรู

             เกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน การรับรูภาวะสุขภาพและการยอมรับการเปลี่ยนแปลงของ
             รางกาย การสนับสนุนของครอบครัว การไดรับบริการทางการแพทยและสาธารณสุข มี
             ความสัมพันธทางบวกกับพฤติกรรมการปองกันอุบัติเหตุ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
             (r = .411, .204, .387และ .291ตามลําดับ) 4. ความรูเกี่ยวกับอุบัติเหตุและการปองกัน การรับรู

             1  คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยราชธานี (Department of Nursing, Ratchathani University)
             โทร. 095-6139636 e-mail: mukjar@hotmail.com
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54