Page 39 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 39

34  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.2 No.1 January-March 2018

             รอยละ 44.0 ผลการศึกษาในครั้งนี้ สอดคลองกับการศึกษาของ ลักษณี มีนะนันท (2535) ใน
             เรื่องเกี่ยวกับการเลือกหลอดเลือดดําที่เหมาะสม โดยเฉพาะความชัดเจนของหลอดเลือดดํา

             หลอดเลือดดําที่อยูตื้นจะมองเห็นไดชัดเจน สามารถแทงเข็มไดงาย ไดแก หลอดเลือดดําบริเวณ
             แขน หลังมือ และขา และจากการศึกษาของ Collin and Collin (1975) ในการใหสารละลาย
             โดยการแทงเข็ม 206 ครั้งในการใหสารละลาย พบวาเกิดหลอดเลือดดําอักเสบไดเพิ่มขึ้นตาม
             ระยะเวลา
                     6. ชนิดของยาที่ใหทางหลอดเลือดดํา ผลการศึกษาพบวา ผูปวยที่ไดทําการศึกษาไดรับ

             ยาเขาทางหลอดเลือดดําเปนยาปฏิชีวนะ ชนิด Ceftazidine รอยละ 46.0 ผลการศึกษาในครั้งนี้
             สอดคลองกับการศึกษาของ Plumer (1982) ซึ่งศึกษาพบวา ความเขมขนของยา มีความสัมพันธ
             โดยตรงกับการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบสวนปลาย มากที่สุด ความเขมขนของสารละลายที่สูง

             รวมทั้งคาความเปนกรด ดางของยา มีผลตอการทําลายเซลส (จงจิต หงสเจริญและคณะ, 2551)
             (คาความเปนกรด ดางในเลือดเทากับ 7.35–7.45) ยา Ceftazidine มีคา pH 6.6–6.7 ซึ่งมีคา
             ความเปนกรด (Yaowart Hinsui, 1998) และยาที่ใหทางหลอดเลือดดําบางชนิด ทําใหเกิดการ
             อักเสบเฉพาะที่ เนื่องจากตองใหทางหลอดเลือดดําเพื่อใหไดผลเร็ว เชน ยาสลบ ยาควบคุมการ

             ชัก ยารักษาการเตนผิดปกติของหัวใจ เปนตน ยาที่ดูดซึมในลําไสไดนอย ไดแก ยาพวกบารบิ
             ทูเรต เพนนิซิลิน และยารักษามะเร็งทุกชนิด

             ขอเสนอแนะ

                       จากผลการวิจัย เรื่องการเกิดภาวะหลอดเลือดดําอักเสบสวนปลายจากการให
             สารละลายทางหลอดเลือดดําในผูปวยวิกฤต ผูวิจัยจึงมีขอเสนอแนะดังนี้
                       1. ในการใหสารละลายทางหลอดเลือดดําในผูปวยวิกฤต เปนเรื่องที่ละเอียดออน ตอง
             อาศัยทั้งศาสตรและศิลป ใชเทคนิคเฉพาะคอนขางมาก นอกจากตัวผูปวยจะมีพยาธิสภาพของ

             โรคที่รุนแรงแลวซึ่งสงผลใหระบบการทํางานตาง ๆ ของรางกายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หลอด
             เลือดอาจมีขนาดเล็ก เปราะบาง และแตกงาย ทําใหเปดหลอดเลือดลําบาก ผูปวยยังมีภูมิคุมกัน
             โรคต่ํา การใหสารละลายทางหลอดเลือดดําสวนปลาย อาจเปนหนทางนําเชื้อโรคเขาสูรางกายได
             หากมีเทคนิคและวิธีการปฏิบัติที่ไมเหมาะสม

                      2. จากการศึกษาครั้งนี้ พบวา ระยะเวลาที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา ที่ควรตอง
             เฝาระวังภาวะเสี่ยงในการเกิดภาวะหลอดเลือดดําอักเสบ ซึ่งมีความเสี่ยงที่อาจจะทําใหเกิดได
             คือ ชวงเวลาที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดํานาน 48.1 - 72 ชั่วโมง คิดเปนรอยละ 30.0
             ดังนั้น จึงควรตรวจบริเวณที่แทงเข็มและถามอาการผูปวยวามีอาการเจ็บปวดหรือไม อยางนอย

             ผลัดเวรละ 1 ครั้ง และมีการเปลี่ยนชุดใหสารละลาย ทุก 96 ชั่วโมง ตามมาตรฐานการดูแล
             ผูปวยที่ไดรับสารละลายทางหลอดเลือดดํา
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44