Page 38 - JRIHS VOL2 NO1 January-March 2018
P. 38

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   33

                การติดเชื้อ สวนที่พบไดไมบอยนัก ไดแก การเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ หลอดเลือดดําหดเกร็ง
                เข็มหรือทอคางอยูขางใน การเกิดฟองอากาศ และการสูญเสียเลือด อธิบายไดวา การปองกัน

                ภาวะแทรกซอนที่สําคัญ คือ ใหการพยาบาลดวยความระมัดระวัง และสอดคลองกับผล
                การศึกษาของ Garland, et al., (1992) จากการตามดูภาวะแทรกซอนในการใหสารละลายทาง
                หลอดเลือดดําสวนปลาย ในผูปวยระยะวิกฤติ ที่พบบอยคือ สารละลายเขาเนื้อเยื่อและหลอด
                เลือดดําอักเสบโดยพบรอยละ 30.0 และ 14.0 ตามลําดับ
                        3. การปฏิบัติการใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา ผลการศึกษาพบวา ผูปวยวิกฤตไดรับ

                การใหสารละลายทางหลอดเลือดดําโดยบุคลากร ซึ่งเปนพยาบาลวิชาชีพเวรเชา มากที่สุด รอย
                ละ 58.0 ผลการศึกษาในครั้งนี้สอดคลองกับการปองกันการติดเชื้อจากการใหสารละลายเขา
                หลอดเลือด โดยตองมีการเตรียมความพรอมดานบุคลาการที่มีความชํานาญและทํางานรวมกัน

                เปนทีม (Faubion W, Wesly et al., 1986) ซึ่งอธิบายไดวาในการปฏิบัติงานในหอผูปวย ในเวร
                เชา จะมีจํานวนบุคลากรมากกวาในเวรบายและเวรดึก ทําใหไมเกิดความเรงรีบในการปฏิบัติการ
                ใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา นอกจากนี้การปฏิบัติการใหสารละลายทางหลอดเลือดดําโดย
                เจาหนาที่ ยังไดรับการตรวจสอบ การปฏิบัติโดยหัวหนาหอผูปวย หรือหัวหนาทีมการพยาบาล

                และการเปดหลอดเลือดเพื่อใหสารละลายทางหลอดเลือดดําสวนปลาย หากกระทําโดยบุคลากร
                ที่ไดรับการฝกฝนซึ่งมีความชํานาญเฉพาะทาง มีการเตรียมผิวหนังบริเวณที่แทงเข็มอยางถูกตอง
                จะเปนวิธีที่สามารถลดโอกาสเสี่ยงในการเกิดภาวะแทรกซอนไดมาก (Batton, et al., 1982)
                        4. ระยะเวลาที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดําและชนิดของสารละลายที่ใหทางหลอด

                เลือดดํา ผลการศึกษาพบวาระยะเวลาที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดําสวนปลาย ที่ใหสวน
                ใหญ อยูในชวงเวลา 48.1–72 ชั่วโมง และชนิดของสารละลายที่ใหทางหลอดเลือดดําที่ผูปวย
                ไดรับมากที่สุด ไดแก สารละลายชนิด Isotonic คิดเปนรอยละ 80.0 การศึกษาในครั้งนี้
                สอดคลองกับการศึกษาของ Collin and Collin (1975) ซึ่งพบวาการเกิดหลอดเลือดดําอักเสบ

                เกิดขึ้นไดตามระยะเวลา โดยระยะเวลาที่ใหสารละลายนอยกวา 12 ชั่วโมง ไมพบการเกิดหลอด
                เลือดดําอักเสบ แตระยะเวลามากกวา 72 ชั่วโมง พบรอยละ 76 และพบมากในระยะเวลา 36–
                72 ชั่วโมง นอกจากนี้ชนิดของสารละลายบางชนิดกอความระคายเคืองแกหลอดเลือดดํา ไดแก
                สารละลาย Hypertonic สารละลายที่มียาผสมอยูหรือ สารละลายที่มีความหนืดสูง สารละลาย

                ดังกลาวควรใหผานทางหลอดเลือดดําขนาดใหญ เพราะชวยเจือจางตัวยาไดมากและอัตราการ
                ไหลผานไดเร็ว อธิบายไดวาผูปวยที่ไดรับสารน้ําทางหลอดเลือดดําชนิด Isotonic มีโอกาสเสี่ยง
                ตอการเกิดภาวะหลอดเลือดดําอักเสบไดนอยกวาผูปวยที่ไดรับสารละลายทางหลอดเลือดดําชนิด
                Hypertonic

                          5. บริเวณ/ตําแหนงที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดําและจํานวนครั้งที่เปดเสน ผล
                การศึกษาพบวา ผูปวยที่ใหสารละลายทางหลอดเลือดดํา บริเวณที่ใหสารละลาย เปนบริเวณ
                แขนขวา มากที่สุด รอยละ 46.0 และพบวา มีจํานวนครั้งในการเปดเสนใหสารละลาย 1 ครั้ง
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43