Page 27 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 27
22 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ไดโปรแกรมเสริมสรางแรงจูงใจในการปองกันโรค เปนแนวทางในการพัฒนางาน
ปองกันมะเร็งปากมดลูก
2. ทราบถึงการรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก โดยขอมูลที่ไดสามารถนําไปใชเปน
ขอมูลเบื้องตนในการสนับสนุนการวางแผนการพัฒนาเสริมสรางสุขภาพของหญิงอายุ 30 ปขึ้น
ไป
กรอบแนวคิดการวิจัย
ผูวิจัยประยุกตใชกรอบแนวคิดทฤษฎีแรงจูงใจเพื่อการปองกันโรคของ Rogers
(Maddux and Rogers, 1983) ซึ่งอธิบายพฤติกรรมการปองกันโรคของบุคคลไววา “การที่
บุคคลจะปฏิบัติพฤติกรรมที่หลีกเลี่ยงจากการเปนโรคหรือปองกันโรคได บุคคลนั้นตองมีความ
เชื่อวาตนเองมีโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรค โรคที่เกิดขึ้นจะมีความรุนแรงตอชีวิต การปฏิบัติ
พฤติกรรมการปองกันโรคจะชวยลดความรุนแรงของโรค และตองไมมีอุปสรรคในการปฏิบัติ
พฤติกรรมการปองกันโรค นอกจากนี้ยังตองคํานึงถึงสิ่งชักนําสูการปฏิบัติ ไดแก การรับขอมูล
ขาวสารทางดานสุขภาพจากสื่อตาง ๆ การไดรับคําแนะนําจากกลุมเพื่อน ญาติ บุคลากรทางดาน
สุขภาพ เพื่อเปนแรงจูงใจใหบุคคลปฏิบัติพฤติกรรมการปองกันโรค”ซึ่งสามารถสรุปเปนกรอบ
แนวคิดการวิจัยไดดังภาพ 1
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
โปรแกรมการสงเสริมแรงจูงใจในการปองกันโรค
สัปดาหที่ 1 - 2 อบรมใหความรูเพื่อเสริมสรางการ
การรับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
รับรูเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก - การรับรูโอกาสเสี่ยงตอการเกิดโรค
สัปดาหที่ 3 - 4 กิจกรรมลดความรูสึกกลัว/อายตอ
การมารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก - การรับรูความรุนแรงของโรค
- สาธิตวิธีการตรวจโดยใชหุนจําลอง - การรับรูประโยชนของการปองกันโรค
- แลกเปลี่ยนเรียนรูกับอาสาสมัครสาธารณสุข - แรงจูงใจดานสุขภาพ
ประจําหมูบาน และอาสาสมัครสตรี ที่มี
ประสบการณตรงเกี่ยวกับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
สัปดาหที่ 5 - 6 ติดตามเยี่ยมบานกระตุนเตือนโดย
ทีมหมอครอบครัว
สัปดาหที่ 7 - 8 กิจกรรมรณรงคตรวจคัดกรองมะเร็ง
ปากมดลูก
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจัย