Page 28 - JRIHS VOL1 NO3 October-December 2017
P. 28
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.3 October-December 2017 23
ระเบียบวิธีวิจัย
เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-Experimental Research) โดยออกแบบการวิจัยเปน
แบบ 2 กลุมวัดผลกอน และหลังทดลอง (Pre-test Post-test Two-Group Design)
ประชากรและกลุมตัวอยาง
1. ประชากร สตรีอายุระหวาง 30 - 60 ป ที่อาศัยอยูในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาล
สงเสริมสุขภาพตําบลดงบัง ในปงบประมาณ 2561 ทั้ง 4 หมูบาน โดยใชขอมูลจากทะเบียน
รายชื่อผูที่ยังไมเคยไดรับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ปงบประมาณ 2561 ของโรงพยาบาล
สงเสริมสุขภาพตําบลดงบัง จํานวน 127 คน สุมเปนกลุมทดลอง และกลุมควบคุม กลุมละ 30
คน ซึ่งทั้งกลุมทดลองและกลุมควบคุมมีคุณสมบัติเหมือนกันตามเกณฑที่กําหนดคือ 1) เปนหญิง
อายุ 30 – 60 ป ที่อาศัยอยูในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลดงบัง 2) ไมเคย
ไดรับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากอน 3) สามารถอานหนังสือ และเขียนภาษาไทย
ได และ 4) ไมอยูในระหวางการตั้งครรภ
2. การเลือกกลุมตัวอยาง การศึกษาครั้งนี้มีการคัดเลือกกลุมตัวอยางเปนไปตาม
คุณสมบัติดังนี้
2.1 เกณฑคัดเขา (Inclusion Criteria) ไดแก
2.1.1 สตรี อายุ 30 – 60 ป ที่อาศัยอยูในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลสงเสริม
สุขภาพตําบลดงบัง
2.2.2 ไมเคยไดรับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกมากอน
2.2.3 สามารถสื่อสารดวยภาษาไทยเขาใจ สามารถ พูด อาน และเขียนภาษาไทยได
2.2.4 ยินดีเขารวมและใหความรวมมือในการวิจัย
2.2.5 ไมเคยปวยเปนมะเร็งปากมดลูก
2.2 เกณฑในการคัดออก (Exclusion Criteria) ไดแก มีประวัติปวยเปนมะเร็งปากมดลูก
3. ขั้นตอนการเลือกกลุมตัวอยาง ดําเนินการคัดเลือกกลุมตัวอยางตามคุณสมบัติที่
กําหนด (Inclusion Criteria) โดยใชวิธีการสุมอยางงาย (simple random sampling โดยการ
สุมใหกลุมทดลองและกลุมควบคุมมีคุณสมบัติใกลเคียงกัน เชน ระดับการศึกษา อาชีพ ประวัติ
การเปนมะเร็งของบุคคลในครอบครัว เปนตน จํานวน 60 คน แบงเปนกลุมควบคุมและกลุม
ทดลองกลุมละ 30 คน
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
เครื่องมือที่ใชในการวิจัยแบงเปน 2 ประเภท คือ
1. เครื่องมือที่ใชในการดําเนินการวิจัย ไดแก โปรแกรมเสริมสรางแรงจูงใจในการ
ปองกันโรคประกอบดวย กิจกรรมเพื่อสงเสริมการรับรูเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก โดยการสอน