Page 23 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 23
18 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017
กลุมวิจัยเห็นความสําคัญของการประเมินและจัดการความปวด จึงพัฒนาและศึกษา
ประสิทธิผลของนวัตกรรม VNBN pain expression เปรียบเทียบกับเครื่องมือประเมินความ
ปวดที่มีอยูเดิมเพื่อนําไปสูประสิทธิภาพการรักษาตอไป
วัตถุประสงคของการวิจัย
เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิผลของการจัดการความปวดโดยใชนวัตกรรม VNBN pain
expression กับการจัดการความปวดแบบเดิมในหอผูปวยศัลยกรรมหญิง โรงพยาบาลนครพนม
คําถามการวิจัย
ประสิทธิผลของการจัดการความปวดโดยใชนวัตกรรม VNBN pain expression เมื่อ
เปรียบเทียบกับการจัดการความปวดแบบเดิมเปนอยางไร
ขอบเขตของการวิจัย
หอผูปวยศัลยกรรมหญิง โรงพยาบาลนครพนม จังหวัดนครพนม ระหวางวันที่ 3– 10
โดยใชนวัตกรรม 2560 กรกฎาคมVNBN pain expression ประกอบดวยเครื่องมือ ชิ้น 2 คือ
ชิ้นที่ เครื่องมือเปนรูปสี่เหลี่ยมพื้นผา โดยใชการประยุกตจากเครื่องมือมาตรฐานดังนี้ 1
Face Pain Scale (FPS), Verbal rating scale: VRS, Numerical rating scale (NRS),
Behavioral Pain Assessment Scale, VNBN scale innovation
2
ชิ้นที่ คือ สายร ัดขอมือมีลักษณะ มี สี แถวแรก 3 คอลัมน 3 แถว 3 Face Pain
Scale (FPS) แถวที่สอง Verbal rating scale: VRS แถวที่สาม Numerical rating scale (NRS)
เปรียบเทียบกับการจัดการความปวดแบบเดิมของโรงพยาบาลนครพนม
รูปแบบการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง 2 กลุม เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการ
จัดการความปวดโดยใชนวัตกรรม VNBN pain expression กับการจัดการความปวดแบบเดิมใน
ผูปวยหลังผาตัด หอผูปวยศัลยกรรมหญิง โรงพยาบาลนครพนม
ลักษณะประชากรและกลุมตัวอยาง
ผูปวยหลังผาตัดบริเวณหนาทอง โดยกลุมตัวอยางเปนผูปวยที่มาผาตัดในหอผูปวย
ศัลยกรรมหญิง โรงพยาบาลนครพนม จังหวัดนครพนม ระหวางวันที่ 3–10 กรกฎาคม 2560
แบงกลุมตัวอยางออกเปน 2 กลุม คือ กลุมควบคุม กับกลุมทดลอง