Page 28 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 28

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017   23

                        ลักษณะที่ศึกษา            กลุมทดลอง          กลุมควบคุม        p-
                                               N=10        %       N=10       %        value

                 มีโรคประจําตัว
                     ไมมี                       9       90.00       8       80.00
                     มี                          1       10.00       2       20.00     1.000
                 ประวัติการผาตัดมากอน

                     ไมมี                       10       100        8        80
                     มี                           -        -         2        20       0.474
                 ภาวะแทรกซอนขณะผาตัด
                     ไมมี                       10       100       10        100

                     มี                           -        -         -         -
                 จํานวนเลือดที่สูญเสีย
                   นอยกวา 50 มิลลิลิตร         8       80.00       7       70.00
                   50 – 100 มิลลิลิตร            2       20.00       2       20.00

                   มากกวา 100 มิลลิลิตร          -        -         1       10.00
                 mean (±SD)                     33.3    (±20.9)     29       (±4.9)    0.373


                        กลุมตัวอยางในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผูปวยหลังผาตัดบริเวณหนาทองจํานวน 20 ราย
                แบงเปนกลุมทดลองและกลุมควบคุม กลุมละ 10 ราย กลุมทดลองมีอายุระหวาง 7 – 45 ป มี
                อายุเฉลี่ยเทากับ 24.9 ป (SD=12.0) สวนกลุมควบคุม มีอายุระหวาง 37 – 80 ป และมีอายุ
                เฉลี่ยเทากับ 59.0 ป (SD= 14.5) ซึ่งคาเฉลี่ยอายุทั้งสองกลุมไมมีความแตกตางกันที่ระดับสถิติ p

                <.001  กลุมทดลองไมมีโรคประจําตัว 9 คน คิดเปนรอยละ 90 มีโรคประจําตัว 1 คน คิดเปน
                รอยละ 10.00 กลุมควบคุมไมมีโรคประจําตัว 8 คน คิดเปนรอยละ 80.00 มีโรคประจําตัว 2 คน
                คิดเปนรอยละ 20 ซึ่งคาเฉลี่ยโรคประจําตัวทั้งสองกลุม ไมมีความแตกตางกันที่ระดับสถิติ
                p=1.000 กลุมทดลองที่ไมมีประวัติการผาตัดมากอน 10 คน คิดเปนรอยละ 100 กลุมควบคุมที่

                ไมมีประวัติการผาตัดมากอน 8 คน คิดเปนรอยละ 80.00 มีประวัติการผาตัดมากอน 2 คน คิด
                เปนรอยละ 20.00 ซึ่งคาเฉลี่ยประวัติการผาตัดมากอนทั้งสองกลุม ไมมีความแตกตางกันที่ระดับ
                สถิติ p=0.474 กลุมทดลองที่ไมมีภาวะแทรกซอนขณะผาตัด 10 คน คิดเปนรอยละ 100 กลุม
                ควบคุมที่มีภาวะแทรกซอนขณะผาตัด 10 คน คิดเปนรอยละ 100 จํานวนเลือดที่สูญเสีย กลุม

                ทดลอง นอยกวา 50 มิลลิลิตร จํานวน 8 คน คิดเปนรอยละ 80 ปริมาณ 50-100 มิลลิลิตร
                จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 20.00 และมีจํานวนเลือดที่สูญเสียเฉลี่ยเทากับ 33.3 SD=20.9)
                กลุมควบคุม นอยกวา 50 มิลลิลิตร จํานวน 7 คน คิดเปนรอยละ 70.00 ปริมาณ 50-100

                มิลลิลิตร จํานวน 2 คน คิดเปนรอยละ 20.00 ปริมาณมากกวา 100 มิลลิลิตร จํานวน 1 คน คิด
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33