Page 22 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 22

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017   17

                จนเกิดอาการทางจิตเวชได ความปวดทําใหการเคลื่อนไหวรางกายลดลง จึงกอใหเกิด
                ภาวะแทรกซอน เกิดผลเสียตอระบบการทํางานของรางกาย สงผลตอเนื่องทําใหผูปวยฟนตัวชา

                นอนโรงพยาบาลนานขึ้น ทําใหสิ้นเปลืองคาใชจาย (มนัสนันท ศิริสกุลวิโรจน, 2552; สิริญญา สิ
                มะลี, 2557; จันทรา อรัญโชติ, 2557; นิตยา ธีรวิโรจนและคณะ, 2554 และอัจฉรียา ปทุมวัน,
                2551)
                        จากการศึกษาเครื่องมือการประเมินความปวดที่มีอยูในปจจุบัน ยังพบขอจํากัดที่สงผล
                ใหการรับรูความปวดไมตรงกัน ทั้งนี้อาจขึ้นอยูกับปจจัยที่มาเกี่ยวของ ไดแก อายุ ระดับ

                การศึกษา ความรู ทัศนคติ สัมพันธภาพระหวางผูปวยและพยาบาลผูดูแล จึงสงผลใหเกิดการ
                รักษาหรือจัดการตอความเจ็บปวดที่ไมมีประสิทธิภาพ หากการประเมินความปวดนั้นไมตรงตาม
                ความปวดที่แทจริงของผูปวย ผูปวยไมไดรับการแกปญหาในเรื่องการปวด ผูศึกษาวิจัยไดมีการ

                พัฒนานวัตกรรมขึ้นมา โดยมีจุดประสงคเพื่อใหการประเมินความปวดนั้นถูกตองแมนยําและตรง
                กับความปวดของผูปวย รวมทั้งสรางความเขาใจระหวางพยาบาลและผูปวย กอใหเกิดการ
                พยาบาลที่เหมาะสม ตรงตามความตองการของผูปวย นวัตกรรม VNBN pain expression ซึ่ง
                เปนนวัตกรรมที่ผูศึกษาวิจัยไดพัฒนาขึ้นเพื่อใชในจัดการกับความปวดและประเมินความปวดได

                ซึ่งประกอบไปดวย 1) V =Visual คือการมองเห็น โดยประเมินจาก face pain scale คือการใช
                รูปภาพแสดงสีหนาบอกความรูสึกปวด 2) N = Numerical rating scale (NRS) คือการใช
                ตัวเลขมาชวยบอกระดับความรนแรงของอาการปวด 3) B = Behavioral measurement คือ
                การประเมินความปวดโดยใชพฤติกรรม อาการปวดจะกระตุนผูปวยใหมีอาการตอบสนองดาน

                พฤติกรรมที่แสดงถึงอาการปวด ไดแก พฤติกรรมดานคําพูด พฤติกรรมดานการแสดงออกของ
                ใบหนา 4) N = Nursing care คือ การใหการพยาบาลในการจัดการความปวด ประกอบดวย
                หลัก ARE for comfort คือ A (Assessment) คือ การประเมินความปวดโดยพยาบาลและผูปวย
                ประเมินความปวดดวยตนเอง โดยใชเครื่องมือ VNBN pain scale innovation, R (Relaxation

                techniques) คือ การจัดทาเพื่อใหกลามเนื้อสวนที่ผาตัดไมตึงตัว ซึ่งจะใหทาที่ผูปวย
                สะดวกสบาย การใชเทคนิคการผอนคลายโดยการหายใจ ทาที่ 1 (skt1) โดยใหผูปวย "นั่งผอน
                คลาย ประสานกาย ประสานจิต" เปนการนั่งหรือนอนปฏิบัติสมาธิดวยการหายใจ, E
                (Environment) คือ การจัดสิ่งแวดลอมเพื่อผอนคลายของผูปวย C (Comfort) คือ การดูแล

                ผูปวยที่นุมนวลและใหกําลังใจ โดย VNBN pain expression ใหการดูแลตามระดับของความ
                ปวดดังนี้  ระดับคะแนน 1-3 คะแนน ปวดเล็กนอย ARE for comfort และประเมินผลหลังการ
                ดูแล 4 ชั่วโมง ระดับคะแนน 4-6 คะแนน ปวดปานกลาง RE-ARE for comfort + non opioid
                และ ประเมินผลหลังการดูแล 1 ชั่วโมง ระดับคะแนน 7-10 คะแนน ปวดรุนแรง RE- ARE for

                comfort +  opioid และประเมินผลหลังการดูแล 30 นาที
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27