Page 27 - JRIHS_VOL1_NO2
P. 27
22 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.2 July-September 2017
สวนที่ 2 แบบบันทึกขอมูลการประเมินความปวดผูปวยหลังผาตัด แบบบันทึกขอมูล
การประเมินความปวดและการพยาบาลเพื่อลดปวดโดยใชนวัตกรรม VNBN pain expression
และการจัดการความปวดแบบเดิม ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผานผูทรงคุณวุฒิจํานวน
ทั้ง 3 ทาน
การรวบรวมขอมูล
1. ผูวิจัยเลือกกลุมตัวอยาง ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑที่กําหนด
2. ผูวิจัยชี้แจงเรื่องการพิทักษสิทธิ์และมีแบบฟอรมการพิทักษสิทธิ์ ขอความรวมมือใน
การเขารวมการวิจัย และใหลงนามในใบยินยอมเขารวมการวิจัย
3. ผูวิจัยบันทึกขอมูลจากเวชระเบียนผูปวยโดยใชแบบบันทึกขอมูลการประเมินความ
ปวดผูปวยหลังผาตัด และประเมินระดับความปวดจากการสอบถามหลังใหการพยาบาลหลัง
ผาตัด 2 ชั่วโมง 4 ชั่วโมง และ 48 ชั่วโมง
การวิเคราะหขอมูล
ขอมูลที่รวบรวมได วิเคราะหโดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อทดสอบ โดยใชสถิตินอน
พารามิเตอร (non-parametric statistics) คือ Rank-sum Test (หรือ Wilcoxon-Mann
Whitney-U Test) โดยกําหนดระดับนัยสําคัญที่ระดับ .05
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. มีการพัฒนาคุณภาพของการพยาบาลในการจัดการความปวดของผูปวยหลังผาตัด
2. มีแนวทางการพัฒนาตอยอดกับการจัดการความปวดในผูปวยที่มีความปวดในลักษณะอื่น ๆ
สรุปผลการวิจัย
ตารางที่ 1 ลักษณะที่ศึกษาของกลุมทดลองและกลุมควบคุม
ลักษณะที่ศึกษา กลุมทดลอง กลุมควบคุม p-
N=10 % N=10 % value
อายุ(ป)
นอยกวา 20 5 50.00 0 0
20-40 4 40.00 1 10.00
40 ขึ้นไป 1 10.00 9 90.00
mean (±SD) 24.9 (±12.0) 59 (±14.5) .000