Page 94 - JRIHS_VOL1
P. 94
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.1 April-June 2017 89
ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
13.ขณะปฏิบัติงานท่านถอดอุปกรณ์ป้องกันอันตราย 24 24 63 37 22
ส่วนบุคคลออก เนื่องจากมีความเกะกะ และน่า (14.1) (14.1) (37.1) (21.8) (12.9)
รําคาญ
14.ท่านไม่ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคลร่วมกับ 66 69 20 10 5
คนอื่น (38.8) (40.6) (11.8) (5.9) (2.9)
15.ท่านได้รับการฝึกอบรมสาธิตวิธีการใช้ วิธีการซ่อม 82 72 12 3 1
บํารุงดูแลรักษาอย่างถูกต้อง (48.2) (42.4) (7.1) (1.8) (0.6)
จากตารางที่ 3 พบว่า คนงานทําเฟอร์นิเจอร์ไม้ ปฏิบัติมากที่สุดคือ ท่านศึกษาข้อมูล
วิธีการใช้งานของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลก่อนนํามาใช้งาน เช่น อ่านคู่มือการใช้งาน
ก่อนนํามาใช้ ร้อยละ 82.42 ท่านตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเช่น
หน้ากากอนามัย ถุงมือ แว่นตา รองเท้านิรภัย ฯลฯ ทุกครั้งก่อนนํามาใช้งาน ร้อยละ 77.10 เมื่อ
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล เช่น หน้ากากอนามัย ถุงมือ แว่นตา รองเท้านิรภัย ฯลฯ
ชํารุดท่านจะเปลี่ยนหรือซ่อมแซมก่อนนํามาใช้ ร้อยละ 72.91
ตารางที่ 4 ระดับการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลจากการทําเฟอร์นิเจอร์ไม้ (n=170)
ระดับความรู้ จํานวน (คน) ร้อยละ
อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
ระดับต่ํา (0-25 คะแนน) 15 8.82
ระดับปานกลาง (26-50 คะแนน) 19 11.18
ระดับสูง (51-75 คะแนน) 136 80.00
Mean= 55.59 S.D.= 13.47 Min= 19 Max=75
จากตารางที่ 4 พบว่า คนงานทําเฟอร์นิเจอร์ไม้มีการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วน
บุคคลเฉลี่ย 55.59 คะแนน และได้คะแนนสูงสุด 75 คะแนน ได้คะแนนต่ําสุด 19 คะแนน ระดับ
การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอยู่ในระดับสูง ร้อยละ 80.00 ระดับปานกลาง ร้อยละ
11.18 และระดับต่ํา ร้อยละ 8.82