Page 96 - JRIHS_VOL1
P. 96
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.1 April-June 2017 91
ตารางที่ 5 (ต่อ) จํานวนและร้อยละพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของคนงานทําเฟอร์นิเจอร์ไม้
(n=170)
ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ ปฏิบัติ
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด
พฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัย
จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน จํานวน
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
15.การวางเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ตามความสะดวก 46 18 14 21 71
ในการหยิบใช้งานของตนเอง (27.1) (10.6) (8.2) (12.4) (41.8)
16.ท่านแต่งกายรัดกุมและเหมาะสมขณะปฏิบัติงาน 120 42 7 - 1
(70.6) (24.7) (4.1) (0.6)
17.การใช้ยาหรือเครื่องดื่มชูกําลังต่างๆ เพื่อให้สามารถ 117 11 11 11 20
ทํางานได้นานโดยไม่เมื่อยล้า (68.8) (6.5) (6.5) (6.5) (11.8)
18.ท่านไม่ใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายเพราะรําคาญและ 107 18 21 11 13
ร้อนอบอ้าว (62.9) (10.6) (12.4) (6.5) (7.6)
19.ถ้าต้องทํางานหรืออยู่ใกล้เครื่องจักรท่านจะระวังตัว 53 95 14 4 4
มากขึ้น (31.2) (55.9) (8.2) (2.4) (2.4)
20.ท่านคุยโทรศัพท์ขณะปฏิบัติงาน 111 27 10 10 12
(65.3) (15.9) (5.9) (5.9) (7.1)
จากตารางที่ 5 พบว่า พฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของคนงานทําเฟอร์นิเจอร์ไม้
ปฏิบัติมากที่สุด คือ ท่านใช้เครื่องมือช่วยในกรณีที่ต้องยกของหนักเกินกําลัง เช่น ลูกรอก ร้อยละ
88.20 ท่านดูแลรักษาความสะอาดโรงงานทุกครั้งที่ปฏิบัติงานเสร็จสิ้น ร้อยละ 84.70 ท่านไม่
ทํางานเมื่อรู้สึกว่าสภาพร่างกายของท่านไม่พร้อมต่อการทํางาน เช่น ไม่สบาย เมาสุรา เป็นต้น
ร้อยละ 80.60
ตารางที่ 6 ระดับพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของคนงานทําเฟอร์นิเจอร์ไม้ (n=170)
ระดับพฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัยของคนงานทําเฟอร์นิเจอร์ไม้ จํานวน (คน) ร้อยละ
พฤติกรรมการทํางานที่ปลอดภัย
ระดับต่ํา (0-33 คะแนน) 9 5.29
ระดับปานกลาง (34-67 คะแนน) 12 7.06
ระดับดี (68-100 คะแนน) 149 87.65
Mean=83.18 S.D.=15.97 Min=28 Max=100