Page 91 - JRIHS_VOL1
P. 91
86 Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.1 April-June 2017
ส่วนที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุการเจ็บป่วยจากการทํางานการ
ป้องกันและการควบคุมอุบัติเหตุจากการทํางานเฟอร์นิเจอร์ไม้
ตารางที่ 1 จํานวนและร้อยละของความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุการเจ็บป่วยจาก
การทํางานการป้องกันและการควบคุมอุบัติเหตุจากการทํางานเฟอร์นิเจอร์ไม้ (n=170)
ตอบถูก
รายการ จํานวน
(คน) (ร้อยละ)
1.การทํางานในสถานที่ ที่มีเสียงดังมากๆเป็นเวลานานเมื่อหยุดอาชีพนี้หรือเลิก 148 87.1
ทํางานไปแล้วหูจะตึง
2.ณ จุดที่ทํางานหากมีแสงสว่างไม่เพียงพอจะทําให้เกิดอุบัติเหตุขณะทํางานได้ 168 98.8
3.การเร่งรีบเป็นสาเหตุทําให้เกิดอุบัติเหตุในการทํางานได้ 170 100
4.การป้องกันอุบัติเหตุและโรคจากการทํางานที่ดีที่สุด คือ การป้องกันที่เครื่องจักร 162 95.3
สิ่งแวดล้อมและตัวผู้ปฏิบัติงาน
5.การสูดดมกลิ่นของแลคเกอร์หรือสีสําหรับทาไม้ไม่เป็นอันตรายทําให้ร่างกายสด 147 86.5
ชื่น
6.ในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน ต้องหยุดทํางานนั้นๆทันที 166 97.6
7.การใช้โปสเตอร์หรือป้ายเตือนไม่มีส่วนในการป้องกันอุบัติเหตุจากการทํางาน 100 58.8
8.การใส่แว่นกรองแสงใช้ป้องกันรังสีที่เกิดจากแสงงานเชื่อมโลหะ 118 69.4
9.สารไวไฟเช่นทินเนอร์หรือแลคเกอร์ต้องแยกเก็บไว้เป็นสัดส่วนโดยมีป้ายเตือน 164 96.5
เพื่อป้องกันอุบัติเหตุและโรคจากการทํางาน
10.คนงานต้องเข้ารับการตรวจสุขภาพร่างกายประจําปีเพื่อเฝ้าระวังโรคที่เกิดจาก 164 96.5
การทํางาน
11.ในการปฏิบัติงานควรเลือกใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ได้ถนัดทั้งมือซ้ายและมือ 121 71.2
ขวา
12.ความสั่นสะเทือนอาจทําให้กล้ามเนื้อเป็นอัมพาตหรือทําให้อวัยวะบางส่วนลีบ 145 85.3
ได้
13.ขณะยกหรือวางของที่มีน้ําหนักมากควรย่อตัวลงเพื่อจะได้ไม่เป็นอันตรายต่อ 164 96.5
กล้ามเนื้อและกระดูกสันหลัง
14.สารเคมีเข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทาง คือ การหายใจ ทางผิวหนัง การกิน 156 91.8
15.ต้องไม่วางวัตถุไวไฟอยู่ใกล้เตาไฟ หม้อน้ํา ท่อไอน้ํา หรือบริเวณที่อาจเกิด 164 96.5
ประกายไฟ