Page 92 - JRIHS_VOL1
P. 92
Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences : Vol.1 No.1 April-June 2017 87
16.การใช้ที่อุดหูหรือหน้ากากทุกครั้งเมื่อมีการตัดเลื่อยหรือไสไม้เป็นการป้องกันอุบัติเหตุ 125 73.3
จากการทํางาน
17.อุบัติเหตุจากการทํางานสามารถป้องกันได้ 164 96.5
18.เสียงดังจากการเลื่อยไม้ไสไม้เป็นอันตรายต่อหู 164 96.5
19.การทํางานในที่มีฝุ่นละอองมากๆไม่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุ 133 78.2
20.การเกิดอุบัติเหตุจากการทํางานทําให้เสียเวลาและสูญเสียทางเศรษฐกิจ 132 77.6
21.เมื่อทํางานบ่อยๆจนเกิดความเคยชินจะไม่ทําให้เกิดอุบัติเหตุ 145 85.3
จากการตารางที่ 1 พบว่า ความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุการเจ็บป่วยจาก
การทํางาน การป้องกันและการควบคุมอุบัติเหตุจากการทํางานเฟอร์นิเจอร์ไม้ พบว่า คนงานมี
ความรู้เรื่อง การเร่งรีบเป็นสาเหตุทําให้เกิดอุบัติเหตุในการทํางาน ร้อยละ 100 ณ จุดที่ทํางาน
หากมีแสงสว่างไม่เพียงพอจะทําให้เกิดอุบัติเหตุขณะทํางาน ร้อยละ 98.80 ในกรณีที่เกิด
อุบัติเหตุขณะปฏิบัติงาน ต้องหยุดทํางานนั้นๆ ทันที ร้อยละ 97.60 สารไวไฟเช่นทินเนอร์หรือ
แลคเกอร์ต้องแยกเก็บไว้เป็นสัดส่วน โดยมีป้ายเตือนอันตรายเพื่อป้องกันอุบัติเหตุและโรคจาก
การทํางาน ร้อยละ 96.50 ขณะยกหรือวางของที่มีน้ําหนักมากควรย่อตัวลงเพื่อจะได้ไม่เป็น
อันตรายต่อกล้ามเนื้อและกระดูกสันหลัง ร้อยละ 96.50
ตารางที่ 2 ระดับความรู้เกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุการเจ็บป่วยจากการทํางานการ
ป้องกันและการควบคุมอุบัติเหตุจากการทํางานเฟอร์นิเจอร์ไม้ (n=170)
ระดับความรู้ จํานวน (คน) ร้อยละ
ความรู้
ระดับต่ํา (0-7 คะแนน) 11 6.47
ระดับปานกลาง (8-14 คะแนน) 13 7.65
ระดับสูง (15-21 คะแนน) 146 85.88
Mean = 17.02 S.D. = 3.44 Min = 6 Max = 21
จากตารางที่ 2 พบว่า คนงานทําเฟอร์นิเจอร์ไม้มีคะแนนความรู้เฉลี่ย 17.02 คะแนน
และได้คะแนนสูงสุด 21 คะแนน ได้คะแนนต่ําสุด 6 คะแนน ระดับความรู้อยู่ในระดับสูง ร้อยละ
85.88 ระดับปานกลาง ร้อยละ 7.65 และระดับต่ํา ร้อยละ 6.47