Page 74 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 74

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   69

                การผลิตดวยการประเมินผลผลิตและการพยากรณความตองการของตลาดโดยอาศัยการ
                วิเคราะหขอมูลการขายใหมีประสิทธิภาพเพื่อลดตนทุนและสรางผลกําไรมีการพัฒนาและ

                ออกแบบผลิตภัณฑที่นอนพับ และหมอนขิดใหมีความแปลกใหมอยางตอเนื่อง 2) ดานการเงิน
                และทุน กิจการมีเงินทุนไมเพียงพอสําหรับการสํารองสินคาไวเพื่อจําหนายและซื้อสินคาเปน
                เงินเชื่อทําใหตนทุนสูง แนวทางการพัฒนาควรมีการจัดทํางบประมาณการขายและ
                งบประมาณการผลิตเพื่อประเมินรายรับและรายจายไวลวงหนา เพิ่มทุนในการดําเนินงานโดย
                การกูเงินจากสถาบันการเงิน เพื่อใชจายในดานการผลิตและการซื้อสินคาเปนเงินสดจะมี

                อํานาจในการตอรองสูงและควรพัฒนาระบบบัญชีใหมีประสิทธิภาพเหมาะสมกับกิจการ
                3) ดานการตลาด คูแขงขันมีจํานวนเพิ่มมากขึ้น และมีการแขงขันอยางรุนแรงแนวทางพัฒนา
                ควรนําผลิตภัณฑและหมอนขิดในลักษณะที่แปลกใหมควบคูไปกับผลิตภัณฑพื้นเมืองชนิดอื่น

                เพิ่มคุณคาผลิตภัณฑโดยเนนประโยชนใชสอยใหมากขึ้น พัฒนาชองทางการจําหนายไปสูกลุม
                ผูบริโภคระดับกลางถึงระดับสูง ใชวิธีดึงดูดลูกคาดวยการใหสวนลดเงินสด และสวนลด
                ปริมาณเพื่อหลีกเลี่ยงการทําสงครามราคา เนนการใหประโยชนจากพอคาคนกลางซึ่งมี
                เครือขายลูกคาที่กวางขวางจะทําใหสามารถกระจายสินคาไดอยางรวดเร็ว เพิ่มชองทางการจัด

                จําหนายโดยตรงโดยการใชพนักงานเรขายสินคาไปตามหมูบานเพื่อทําใหการหมุนเวียนสินคา
                ไดรวดเร็วขึ้น รักษาความสัมพันธอันดีกับลูกคาเพื่อการทําธุรกิจรวมกันในระยะยาว 4) ดาน
                ทรัพยากรมนุษย ในอนาคตคาดวาจะประสบปญหาขาดแคลนแรงงาน เนื่องจากที่มีอยูเดิม
                อายุมากขึ้นอาจเสื่อมสภาพการทํางาน แนวทางการพัฒนาควรวางแผนการใชแรงงานในระยะ

                ยาวโดยการพัฒนาแรงงานใหมีความชํานาญและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน โดย
                เตรียมการสรรหาแรงงานจากแหลงอื่นมาทดทน มีการสงเสริมใหสมาชิกในครอบครัวได
                พัฒนาความรูและทักษะในการบริหารกิจการธุรกิจเพื่อการทําธุรกิจใหสามารถแขงขันได และ
                สอดคลองกับ kuratko และ Hodgetts (1996, p. 167-168) ที่ไดศึกษาถึงปญหาและความ

                ลมเหลวของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม พบวา มีเหตุปจจัยดังนี้ ขอมูลไมเพียงพอ ทํา
                ใหเกิดการตัดสินใจที่ผิดพลาด การขยายตัวทางเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว ทําใหการขยายตัวของ
                การใชทรัพยากรไมสอดคลองสงผลใหเกิดปญหาดานการจัดการและการเงินตามมา ขาดขอมูล

                เกี่ยวกับลูกคา กิจการไมสามารถตัดสินใจวางแผนการตลาดใหกับลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ
                ความลมเหลวในการหาตลาด กิจการยึดกลุมลูกคาเกาหรือเนนการตลาดหนึ่งจึงทําใหเกิดการ
                กระจายสินคาไมมาก ขาดขอมูลการวิจัย ไมมีการศึกษาขอมูลทางการตลาดอยางเพียงพอ ทํา
                ใหการตัดสินใจดานการตลาดออนแอ ปญหาดานกฎหมาย กลุมพยายามหลีกเหลี่ยงกฎหมาย
                ซึ่งในระยะยาวจะมีผลผูกพันตอเนื่องมาก ความไมเปนธรรม กิจการเนนสมาชิกในครอบครัว

                ชวยกันทํางาน ซึ่งบางครั้งทําใหเกิดความลําเอียงในการปฏิบัติและจายผลตอบแทน เกิดเปน
                ปญหาตอการจัดการตามมาขาดความสามารถทางดานเทคนิค กิจการบางประเภทตองอาศัย
                ความรูความสามารถทางดานเทคนิคและความพรอมในการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงทางดาน
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79