Page 70 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 70
Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018 65
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูล
ในขั้นตอนการเก็บรวบรวมขอมูลนี้ ผูวิจัยใชวิธีการเก็บรวบรวมขอมูลในชุมชน
ดวยวิธีการที่หลากหลายเพื่อเปนการตรวจสอบขอมูลที่ได ผูวิจัยใชการเก็บขอมูลดวยวิธีการ
สัมภาษณแบบเจาะลึก (In-Dept Interview) และสนทนากลุม (Focus Group Discussion)
และทําการรวบรวมขอมูลโดย มาเปนหลักในการวิเคราะหตีความ นอกจากนั้นยังใชการให
ขอมูลของผูใหขอมูลหลัก (Key Informant) และการสังเกตแบบไมมีสวนรวม ประกอบในการ
วิเคราะหตีความ
ขั้นตอนที่ 1 การสัมภาษณกลุมผูใหขอมูลหลัก เพื่อศึกษาปญหาการบริหารจัดการ
กลุมวิสาหกิจชุมชนขาวอินทรียสูความสําเร็จอยางยั่งยืน บานอุมแสง อําเภอราษีไศล จังหวัด
ศรีสะเกษ ผูวิจัยทําการเก็บขอมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับประวัติ บริบททางดานอาชีพ สังคม
เศรษฐกิจและวัฒนธรรมขาวอินทรียสูความยั่งยืน กลุมวิสาหกิจชุมชน บานอุมแสง อําเภอราษี
ไศล จังหวัดศรีสะเกษ เปนลําดับแรก ซึ่งเริ่มทําการเก็บรวบรวมขอมูลของสมาชิกกลุมโดย
ผูวิจัยจะไปพูดคุยกับประธาน รองประธาน และสมาชิกกลุม เพื่อที่จะใหขอมูลเกี่ยวกับประวัติ
ความเปนมาของกลุมวิสาหกิจชุมชนขาวอินทรียสูความยั่งยืน ใหไดขอมูลจริง หลังจากนั้น
ผูวิจัยจะไดเดินทางไปเก็บรวบรวมขอมูลพื้นฐานในการทําการเกษตรขาวอินทรีย จากสมาชิก
กลุมวิสาหกิจชุมชน บานอุมแสง อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ การสัมภาษณ กลุมผูให
ขอมูลหลัก คือ ตัวแทนสมาชิกในกลุม ตัวแทนภาครัฐ/เอกชน ธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณการเกษตร และผูซื้อ การสัมภาษณกลุมผูใหขอมูลหลัก ไดมาโดยการเลือกแบบ
เจาะจง รวม 30 คน ดังนี้
1. ตัวแทนสมาชิกในกลุมวิสาหกิจชุมชน บานอุมแสง จํานวน 15 คน
2. ตัวแทนภาครัฐ/เอกชน ตัวแทนผูรับซื้อขาวจากเอกชนจากภาครัฐ จํานวน 3
คน และภาคเอกชน จํานวน 3 คน รวม 6 คน
3. ตัวแทนบุคลากรธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร จํานวน 2 คน
สํานักงานเกษตรจังหวัด จํานวน 2 คน รวม 4 คน
4. ตัวแทนผูซื้อขาวจากกลุมวิสาหกิจชุมชน บานอุมแสงไปจําหนาย จํานวน 5 คน
ขั้นตอนที่ 2 การสนทนากลุม (Focus Group Discussion) เพื่อศึกษาแนวทางการ
บริหารจัดการกลุมวิสาหกิจชุมชนขาวอินทรียสูความสําเร็จอยางยั่งยืน บานอุมแสง อําเภอ
ราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ หลังจากนั้น ผูวิจัยจะดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลโดยการสนทนา
กลุมเปนลําดับตอไป สาเหตุที่ใชวิธีการเก็บรวบรวมดวยวิธีนี้เพราะจะสามารถชวยทําใหทราบ
เกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการกลุมวิสาหกิจชุมชนขาวอินทรียสูความสําเร็จอยางยั่งยืน
บานอุมแสง อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ที่ถูกศึกษา (Group Norms) เปนการแสดง
ความคิดเห็นหรือแนวคิด ทัศนะของกลุมทั้งที่แสดงถึงความคิดเห็นที่คลอยตามกัน
(Conformity) และเปนความคิดเห็นที่ขัดแยงของสมาชิกในกลุม นอกจากนั้นเพื่อชวยในการ