Page 71 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 71

66  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018

             มองในเรื่องแนวทางการบริหารจัดการกลุมวิสาหกิจชุมชนขาวอินทรียสูความสําเร็จอยางยั่งยืน
             บานอุมแสง อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ไดอยางรอบดาน บุคคลในการสนทนากลุม

             (Focus Groups Discussion) คือ ประธาน รองประธาน สมาชิกกลุม ผูนําวิสาหกิจชุมชน
             นักวิชาการเกษตร และผูมีสวนเกี่ยวของสําคัญภาครัฐและเอกชน บานอุมแสง อําเภอราษีไศล
             จังหวัดศรีสะเกษ แบงอกเปน 2 กลุม กลุมละ 5 คน จํานวน 10 คน ไดมาโดยการเลือกแบบ
             เจาะจง
                       ขั้นตอนที่ 3 การสรุปขอมูลปญหาการบริหารกลุมวิสาหกิจ และแนวทางการ

             บริหารจัดการกลุมวิสาหกิจชุมชนขาวอินทรียสูความสําเร็จอยางยั่งยืน บานอุมแสง อําเภอ
             ราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ รายงานผลความถูกตองของขอมูล ผูวิจัยไดใชวิธีการสัมภาษณผูรูที่
             เกี่ยวของกับผูใหขอมูลเพิ่มเติม ครั้งนี้โดยทําการสนทนาพูดคุยกับเกษตรอําเภอ แบบเจาะลึก

             โดยทําการตรวจสอบทั้งสิ้น จํานวน 5 คน ในประเด็นตัวแปร 8 ดาน คือ 1) ดานการเงินหรือ
             เงินทุน 2) ดานการตลาด 3) ดานการผลิต 4) ดานบริหารและจัดการ 5) ดานผูนํา 6) ดาน
             แรงงาน 7) ดานการมีสวนรวมของสมาชิก และ 8) ดานระเบียบขอบังคับขององคกร การ
             สังเกตการดําเนินการเกษตรในชีวิตประจําวัน ซึ่งวิธีการสัมภาษณเกษตรอําเภอราศีไศล นี้มี

             วัตถุประสงคเพื่อตรวจสอบความถูกตองของขอมูล ทั้งนี้เพราะในทางวิจัยถือวาคนกลุมนี้เปน
             ผูใหขอมูลคนสําคัญ เนื่องจากบุคคลเหลานี้มีความเกี่ยวพันธและมีความรอบรูเกี่ยวกับสิ่ง
             ดังกลาวขางตนของกลุมผูใหขอมูลหลักที่ผูวิจัยตองการศึกษา
                       การตรวจสอบความนาเชื่อถือของขอมูล

                       1.  การตรวจสอบแบบสามเสา (Triangulation technique) ในงานวิจัยครั้งนี้ใช
             วิธีการตรวจสอบขอมูล ตามแนวคิดของ Denzin & Lincoln (1994) โดยอาจสรุปวิธีการ
             ตรวจสอบความตรงและความนาเชื่อถือของขอมูลไดใน 2 วิธีหลักดังนี้ คือ 1) ตรวจสอบดวย
             วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลหลายวิธี (Methodology triangulation) 2) ตรวจสอบขอมูลที่ได

             (Data triangulation)
                         2.  การใหความยินยอม (Consent) การสรางความไวเนื้อเชื่อใจและประเด็น
              ทางดานจริยธรรม ไดแก 1) การชี้แจงวัตถุประสงคของการวิจัยที่ชัดเจน 2) การสรางความไว
              เนื้อเชื่อใจ (Trust Building) และความสัมพันธระหวางผูวิจัยและผูใหขอมูล

                       วิธีการวิเคราะหขอมูล (Data processing and analyses)
                       ใชวิธีการวิเคราะหขอมูลที่ไดดวยวิธีการอุปมาน (Inductive  Method)  ซึ่งเปน
              วิธีการหลักในการประมวลขอมูลวิจัยเชิงคุณภาพ  และดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้ คือ
                       การตรวจสอบขอมูล (Verification of Data)

                       ในชวงที่ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลหลักซึ่งไดแกการสัมภาษณแบบเจาะลึก (In-
              Dept Interview) ผูวิจัยจะทําการเก็บขอมูลเอง โดยทําการขออนุญาตบันทึกเทปในขณะ
              สัมภาษณ และหลังจากการสัมภาษณเสร็จสิ้น ผูวิจัยไดจะทําการตรวจสอบความครบถวนของ
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76