Page 73 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 73
68 Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018
สวนรวมในการวางแผนทุกกระบวนการ 8) ปญหาดานระเบียบขอบังคับขององคกร ไมมีการ
จัดทําระเบียบขอบังคับของกลุมวิสาหกิจชุมชนขาวอินทรีย ปญหาการทําผิดระเบียบขอบังคับ
ของกลุม ปญหาขาดความรูดานกฎหมายในการดําเนินการวิสาหกิจชุมชนขาวอินทรีย ขาดที่
ปรึกษาดานกฎหมายในการทําธุรกิจวิสาหกิจชุมชนขาวอินทรีย
ทั้งนี้อาจเปนเพราะปญหาการบริหารจัดการกลุมวิสาหกิจชุมชนขาวอินทรียสู
ความสําเร็จอยางยั่งยืน บานอุมแสง อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ ยังขาดหนวยงานที่
เกี่ยวของเขามาใหความรู การอบรม การจัดสรรงบประมาณไมเพียงพอตอการบริหารจัดการ
กลุม สอดคลองกับงานวิจัยของ รัชนี พลซื่อ (2546, น. 77) ที่ศึกษาศึกษาพบวา 1) การ
บริหารองคการ การกําหนดโครงสราง บทบาทหนาที่ การประชุม วางแผนไดรับคําแนะนํา
จากหนวยงานรัฐและเอกชนที่เกี่ยวของ ประสิทธิผลจะแตกตางกันตามระดับของผูนํากลุม
ปญหาการบริหารองคการเกิดจากสมาชิกในกลุมขาดความเขาใจชัดเจนในบทบาทหนาที่ขาด
ความตระหนักในการรวมกลุม และผูนํารวบอํานาจการตัดสินใจ 2) การบริหารบุคคล การเขา
เปนสมาชิกไดรับแรงจูงใจจากรายได และผลประโยชนตาง ๆ กลุมมีการกําหนดบทบาทและ
แบงหนาที่ทํางาน มีการกําหนดระเบียบ กฎเกณฑ แตการบังคับใชไมจริงจังมากนัก การรับ
การสนับสนุนดานฝกอบรม ประธานกลุมจะเปนผูเขาอบรมและนํามาถายทอดใหสมาชิก การ
จัดสรรคาตอบแทนกรรมการบริการบางกลุม ไมมีรูปแบบที่ชัดเจนแนนอน และมีการปญหา
สมาชิกไมมีความรูดานบริหารองคกรทําใหเกิดความสับสนในบทบาทหนาที่ และเกิดความ
ขัดแยงในที่สุด 3) การบริหารการเงิน เงินลงทุนที่ใชในการดําเนินการ ไดมาจากการระดมทุน
โดยการซื้อหุนของสมาชิก และการสนับสนุนจากหนวยงานรัฐและเอกชน ตั้งแต 20,000 –
720,000 บาท สวนหนึ่งนําไปใชหมุนเวียนในการจัดหาอุปกรณการผลิต อีกสวนหนึ่งนําไป
ลงทุนดานโรงเรือนและเครื่องจักรที่ใชในการผลิต มีการจัดสรรกําไรตามขอตกลงของกลุม
ประมาณรอยละ 33-80 มีปญหาสมาชิกขัดแยงในการแบงงานซึ่งมีผลตอรายไดของแตละคน
4) การบริหารการบัญชี ในการจัดทําบัญชีตามที่ไดรับอบรมจากหนวยงานรัฐสวนใหญทําได
เพียงบัญชีรายรับ-รายจาย ที่ไมอาจวัดประสิทธิภาพการดําเนินงานได กลุมขาดแรงจูงใจใน
การพัฒนาระบบการบัญชีดวย เห็นเปนเรื่องยุงยากและไมเห็นประโยชนชัดเจน 5) การ
บริหารการผลิต สวนใหญวิธีการการผลิตที่ใชเกิดจากภูมิปญญาทองถิ่น มีการประยุกตที่ใช
เครื่องจักรในการผลิตบาง เนนการใชวัตถุดิบที่มีในทองถิ่นเปนหลัก ผลผลิต ปญหาดาน
คุณภาพไมแนนอนและขาดการปรับปรุงใหขยายตลาดไปสูผูบริโภคกลุมใหมได 6) การบริหาร
การตลาด ผลิตภัณฑขาดลักษณะเดน การบรรจุหีบหอยังไมนาสนใจชองทางการจัดจําหนาย
แคบ การขาดความรูความสามารถในการคํานวณตนทุน จึงไมอาจใชกลยุทธการตั้งราคาจูงใจ
ผูบริโภคได
นอกจากนี้ นพรัตน มหิพันธุ (2545 : บทคัดยอ) ยังศึกษาพบวา 1) ดานการผลิต
ปริมาณการผลิตสินคาไมสอดคลองกับปริมาณการขาย แนวทางการพัฒนา ควรวางแผนกําลัง