Page 76 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 76

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   71

                มูลคา และ สอดคลองกับ สุมิตรา จิระวุฒินันท (2542, น. 61) ที่พบวา กลยุทธในการบริหาร
                กลุมที่สําคัญ คือ การสรางความรูสึกมีสวนรวมและเปนเจาของการทํางานจากลางสูบน ความ

                เสมอภาค และการใหความสําคัญพื้นฐานวัฒนธรรมชุมชนกลยุทธธุรกิจพบวา ดานการผลิตจะ
                มุงรักษาคุณภาพมาตรฐาน การสรางความชํานาญเฉพาะผลิตภัณฑ และการอนุรักษธรรมชาติ
                ดานการตลาดเนนตลาดผูบริโภคคือใหความสําคัญกับการสนองตอบลูกคา และการสราง
                ระบบเครือขายการตลาด ดานการเงินใหความสําคัญการจัดสรรผลประโยชนที่ดีแกสมาชิก
                และระบบการบริหารการเงินที่ดี สามารถตรวจสอบไดกลยุทธธุรกิจกลุมแพรพรรณที่แตกตาง

                จากธุรกิจลักษณะเดียวกันคือ การสรางความชํานาญเฉพาะผลิตภัณฑ และการจัดสรรโควตา
                การผลิต สามารถจัดสรรปริมาณการผลิตที่จํากัดไดในระดับหนึ่ง ทําใหสินคามีคุณภาพ
                กอใหเกิดการพัฒนาทักษะฝมือแรงงาน ซึ่งเปนปจจัยสําคัญที่สงผลดีดานการตลาด ผลิตภัณฑ

                มีคุณภาพ มีปริมาณที่พอดีกับตลาด เปนที่ตองการและแขงขันไดจากการวิเคราะหปจจัยการ
                บริหารงานที่มีผลตอความสําเร็จของกลุมแพรพรรณ พบวาปจจัยการบริหารงานทุกดานคือ
                การบริหารงานกลุม การบริหารการผลิต การบริหารการตลาด และการบริหารการเงิน มีผล
                ตอความสําเร็จอยูในระดับมากเทากันทุกกิจกรรม แนวทางการพัฒนาธุรกิจชุมชนหัตถกรรม

                สิ่งทอพื้นบาน ใหแขงขันไดตองมุงแสวงหากลยุทธความแตกตางดานการผลิตและการตลาด
                        นอกจากนี้ยังสอดคลองกับ จันทิรา มูณละศรี (2547, น. 71) ไดศึกษาการบริหาร
                จัดการ และแนวทางการพัฒนาธุรกิจชุมชน กลุมพัฒนาอาชีพหัตถกรรมหวาย บานนากระเซ็ง
                จังหวัดเลย เกี่ยวกับหนาที่ทางธุรกิจ 5 ดาน คือ ดานการตลาด ดานการผลิต ดานบริหาร

                ทรัพยากรบุคคล ดานการเงิน ดานองคกรและการจัดการ โดยศึกษาประชากรกลุมสมาชิกของ
                กลุมพัฒนาอาชีพหัตถกรรมหวาย บานนากระเซ็งจังหวัดเลย จํานวน 40 คน ผลการศึกษา
                พบวา 1) หนาที่ทางธุรกิจ (1) ดานการตลาด ไมมีการกําหนดตลาดเปาหมายที่ชัดเจน ไมมี
                การวางแผนการตลาด ใชเหตุการณที่เกิดขึ้นในอนาคตเปนตัวกําหนด เนื่องจากกลุมขาด

                ความรูเรื่องการตลาด (2) ดานการผลิต ไดมีการจัดหนาที่ในการผลิตของสมาชิกไดเปนอยางดี
                มีการตรวจสอบคุณภาพของสินคา ตั้งแตขั้นตอนการผลิตจนถึง การสงมอบสินคาใหกับลูกคา
                (3) ดานบริหารทรัพยากรบุคคล มีการใหสมาชิกไดรับการฝกทักษะอยางตอเนื่องแตไมตรงกับ
                ความตองการของสมาชิก มีการประเมินผลการทํางานของสมาชิก ปละ 1 ครั้ง ไมมีการ

                กําหนดเวลาการทํางาน ขึ้นอยูกับความสะดวกในการปฏิบัติงานของสมาชิก กลุมจะขาดแคลน
                แรงงานในการผลิตสินคาในฤดูเก็บเกี่ยว (4) ดานการเงิน ขาดเงินทุนหมุนเวียนในการ
                ดําเนินงาน บางครั้งไมมีเงินทุนเพียงพอในการจายคาแรงงานใหกับสมาชิก กลุมไมมีการจัดทํา
                ระบบบัญชีตามหลักสากล ทําใหไมทราบอัตราหมุนเวียนของเงินทุน และระบบรายงาน

                ทางการบัญชีที่ถูกตอง (5) ดานองคกรและการจัดการ มีการบริหารงาน ในลักษณะระบบงาน
                ถอยทีถอยอาศัย คณะกรรมการมักจะปฏิบัติหนาที่ที่ไมตรงตามที่ไดรับการแตงตั้ง การทํางาน
                ของกลุมทํางานแบบครอบครัว โดยเนนใหทุกคนทํางานตามความสามารถและความเหมาะสม
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81