Page 66 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 66

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   61

                ชุมชนที่แตกตางกันใน 3 ลักษณะ คือ 1) ลักษณะมองแบบแยกสวน การมองลักษณะนี้ถือวา
                ปญหาของวิสาหกิจชุมชนเกิดจากสวนใดสวนหนึ่ง การใหความชวยเหลือสนับสนุนจึงแกไข

                เฉพาะสวนนั้นๆ โดยไมเขาใจถึงความเชื่อมโยงไปยังสวนอื่นๆ ที่มีความสัมพันธกันทั้งทางตรง
                และทางออม การแกไขปญหาใดปญหาหนึ่งยอมสงผลกระทบตอปจจัยที่เชื่อมโยงกันทางดาน
                การสนับสนุนหรือขัดแยงกันจนทําใหเกิดปญหาใหมอยูเสมอๆ 2) ลักษณะมองแบบลดสวน
                เปนการมองปรากฏการณของวิสาหกิจชุมชนในกระบวนทางเศรษฐมิติเชิงตัวเลข หรือเปน
                ขอมูลเชิงสถิติ โดยไมคํานึงถึงปจจัยอื่น หรือทําความเขาใจในมิติอื่นที่มีผลกระทบตอวิสาหกิจ

                ชุมชน การพยายามอธิบายปรากฏการณวิสาหกิจชุมชนในเชิงตัวเลข ทําใหมองขามปจจัยทาง
                ธรรมชาติดานองคประกอบของอุตสาหกรรมซึ่งเปนที่มาของตัวเลขเหลานั้น โดยเฉพาะปจจัย
                เชิงคุณภาพในมิติทางสังคม 3) ลักษณะมองแบบกระบวนการทางวิทยาศาสตร เปนการ

                อธิบายธรรมชาติของกระบวนการพัฒนาดวยกฎเกณฑทางวิทยาศาสตรแบบตายตัว และ
                อธิบายเปนกลไกการเกิดที่แนนอน เชน ธุรกิจไมเติบโตเนื่องจากขายไมได ไมมีตลาด ทั้งๆ ที่มี
                ปจจัยดานศิลปะที่มีความสัมพันธและมีสวนรวมของกระบวนการดังกลาวอยูมิใชนอย การ
                มองเห็นวิสาหกิจชุมชนแยกออกเปนสวนๆ ขางตน ทําใหผูปฏิบัติงานมองไมเห็นถึงคุณคาใน

                มิติทางจิตวิญญาณของวิสาหกิจชุมชนที่มีพลวัตร มีความละเอียดออนและมีชีวิตชีวา มิใช
                มองเห็นวิสาหกิจชุมชนเปนเรื่องของวัตถุดิบ กระบวนการผลิต ตนทุน กําไร ฯลฯ ที่ไรวิญญาณ
                ซึ่งสงผลกระทบใหเกิดการทําลายการบูรณาการขององคกร สังคม และธรรมชาติของมนุษย
                กลายเปนสังคมอุตสาหกรรมที่เอารัดเอาเปรียบกัน แสวงหาประโยชนจากผูดอยโอกาส เปน

                สังคมบริโภคและแกงแยงแขงขันในทางวัตถุ ขาดความจริงใจรวมมือกันพัฒนาสังคม
                อุตสาหกรรมใหเปนสังคมที่มีการอยูรวมกัน แบงปน และเอื้ออาทรซึ่งเปนพื้นฐานธรรมชาติ
                ของมนุษย (กัญญามน อินหวาง และคณะ, 2554,น. 6)
                         กลุมวิสาหกิจชุมชนศูนยขาวชุมชนบานอุมแสง หรือกลุมเกษตรทิพย ตั้งอยูที่ 155

                บานอุมแสง ตําบลดู อําเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ จัดตั้งขึ้นเมื่อ เดือน มีนาคม พ.ศ. 2547
                และจดทะเบียนวิสาหกิจชุมชนเมื่อ 13 มีนาคม พ.ศ. 2549 โดยมีสมาชิกที่เริ่มกอตั้งกลุม
                ทั้งหมด 74 ราย ดวยเงินระดมทุน 608,000 บาท นายบุญมี สุระโคตร เปนประธาน ณ
                สํานักงานเกษตรอําเภอราษีไศล โดยนายสวาง กาลพัฒน เกษตรอําเภอราศีไศล  เปนนาย

                ทะเบียนและนายวสันต บุญหอ เกษตรจังหวัดศรีสะเกษ ในขณะนั้น ซึ่งตอมาสํานักงานเกษตร
                จังหวัดศรีสะเกษ และสํานักงานเกษตรอําเภอราษีไศล ก็ไดออกมาใหคําแนะนํา รวมประชุม
                รวมสงเสริมและสนับสนุนวิสาหกิจชุมชนศูนยขาวชุมชนบานอุมแสงมาโดยตลอด ทั้งอบรม
                สัมมนาและฝกปฏิบัติกิจกรรมที่กลุมดําเนินการ จนประสบผลสําเร็จเปนที่นาพอใจ ซึ่งปจจุบัน

                สํานักงานเกษตรจังหวัดศรีสะเกษ นําโดยนายทวี มาสขาว เกษตรจังหวัดศรีสะเกษ และ
                สํานักงานเกษตรอําเภอราษีไศล โดยนายประวิทย ขุนพรหม เกษตรอําเภอราศีไศล พรอม
                นักวิชาการสงเสริมการเกษตร ไดดําเนินงานใหคําปรึกษา คําแนะนํา ใหการฝกอบรมแกกลุม
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71