Page 65 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 65

60  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018

             management and management plan, 5) leadership should be monitored and
             coordinated, invited members should be involved in targeting and planning, 6)

             workers should promote and support local employment, 7) participation of
             members should allow members of the group to participate in all planning
             processes, and 8) the regulations of the organization should make regulations
             of the organic rice community enterprise. It should be studied the rules or
             important legal and ethical issues in production of goods and services related

             to the production of organic rice, such as the property violations, copyright.
             Keywords:  the guideline for management of community enterprise, the organic
             rice


             บทนํา
                     วิสาหกิจชุมชนกลุมปลูกขาวอินทรีย จัดตั้งขึ้นตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ
             พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ 9 โดยการรวมกลุมกันของเกษตรกรภายในหมูบาน ที่

             ดําเนินกิจกรรมการปลูกขาวอินทรีย การปลูกถั่วลิสง การปลูกผักไรสารพิษและการปลูก
             มะมวง ซึ่งกิจกรรมที่ทําเพื่อใหสมาชิกในกลุมทาการเกษตรแบบลดการใชสารเคมีใหไดมาก
             ที่สุดและตองการลดตนทุนการผลิตที่เกิดจากการซื้อผลิตภัณฑประเภทปุยเคมีที่มีราคาแพงใน
             ทองตลาดและรายไดในครัวเรือนประกอบกับไดรับการสนับสนุนจากหนวยงานของภาครัฐใน

             ดานเงินทุนและการสนับสนุนจากภาคเอกชน คือ มูลนิธิธรรมะรวมใจ เครือขายราชธานีอโศก
             ในการฝกอบรมวิธีการทําปุยอินทรีย ปนเม็ด ซึ่งการผลิตปุยเปนกิจกรรมที่ไดรับการตอบรับ
             เปนอยางดีจนผลิตไมเพียงพอกับความตองการของชุมชนและเพื่อนสมาชิกดวยกันเองได
             ดําเนินกิจกรรมกลุมเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน (สํานักงานเกษตรอําเภอปาติ้ว, 2548, น. 2)

                     ปญหาการพัฒนาศักยภาพและการปรับตัวในระบบเศรษฐกิจฐานความรูที่เกื้อหนุน
             การพัฒนาที่ยั่งยืน เนื่องจากแนวทางการดําเนินงานไมไดใหความสําคัญตอการพัฒนาที่จะ
             ผสมผสานองคความรูเดิม ภูมิปญญาวัฒนธรรมทองถิ่น และการมีสวนรวมของทุกภาคสวนที่
             เกี่ยวของในชุมชน ผลกระทบจากการพัฒนาดังกลาวกอใหเกิดผลดีและผลเสียตอชุมชนใน

             หลายกรณี โดยเฉพาะในระยะยาวจะเห็นรอยแตกราวที่เกิดจากการขัดแยงทั้งในมิติทาง
             เศรษฐศาสตรและมิติทางสังคมกวางขึ้นอยางชัดเจน เริ่มจากระหวางปจเจกชนพัฒนาสู
             สถาบันครอบครัว และกระจายสูองคกรตาง ๆ ในชุมชน กลุมที่มีฐานความสัมพันธของสมาชิก
             ไมเขมแข็งเพียงพอ ก็มักจะประสบความลมสลายไปในที่สุด ดานมิติทางสิ่งแวดลอม ยังขาด

             การปลูกจิตสํานึกในการรักษาและจัดการสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะของเสียที่เกิดจาก
             กระบวนการผลิต รวมทั้งขอผิดพลาดของกระบวนทัศนการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนที่ผานมาอาจ
             กลาวไดวา ผูเกี่ยวของกับการปฏิบัติงานตามกระบวนการดังกลาว มีลักษณะการมองวิสาหกิจ
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70