Page 26 - JRISS VOL2 NO4 October-December 2018
P. 26

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.4 October-December 2018   21

                        ตัวแปรที่ศึกษา ประกอบดวย
                       1. ตัวแปรอิสระ คือ การพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงาน (Potential Development)

                โดยประยุกตแนวคิดของจารุณี อภิวัฒนไพศาล (2555, น.6) และสํานักงานคณะกรรมการ
                ขาราชการพลเรือน (2552, น.2) ประกอบดวย 1) ดานความรูทางวิชาการและการบัญชี
                (Academic and Accountancy) 2) ดานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการเงินและบัญชี
                (Financial and Accountancy Information and Technology) 3) ดานความสามารถ
                ทางการสื่อสาร (Communication Competence) และ 4) ดานการทํางานเปนทีม (Team

                Working)
                       2. ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์การทํางาน (Operational Achievement) โดย
                ประยุกตแนวคิดสมรรถนะในการทํางานของสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ณัฐ

                พร เปรมศักดิ์, 2557, น.10) ประกอบดวย 1) ดานความคิดริเริ่มสรางสรรค (Creative
                Thinking) 2) ดานการสืบเสาะหาขอมูล (Information Seeking)  3) ดานการคิดวิเคราะห
                (Analytical Thinking) และ 4) ดานการมองภาพองครวม (Conceptual Thinking)


                กรอบแนวคิดในการวิจัย
                                                                     ผลสัมฤทธิ์การทํางาน
                        การพัฒนาศักยภาพการปฏิบัติงาน
                   1) ดานความรูทางวิชาการและการบัญชี           1) ดานความคิดริเริ่มสรางสรรค
                   2) ดานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการเงินและบัญชี     2) ดานการสืบเสาะหาขอมูล

                   3) ดานความสามารถทางการสื่อสาร                3) ดานการคิดวิเคราะห
                  4) ดานการทํางานเปนทีม                        4) ดานการมองภาพองครวม

                                         ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย


                วิธีดําเนินการวิจัย
                        1. ประชากรและกลุมตัวอยาง
                          ประชากรที่ใชในการวิจัย คือ บุคลากรกลุมบริหารงานการเงินและสินทรัพย สังกัด

                สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จํานวนทั้งสิ้น 652 คน
                          กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากรกลุมบริหารงานการเงินและ
                สินทรัพย สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                กําหนดขนาดตัวอยางโดยใชตารางของเครจซีและมอรแกน (จําเริญ อุนแกว, 2553, น.8-9) ใช

                วิธีการแบงขนาดกลุมตัวอยางตามสัดสวนแบบชั้นภูมิ และใชวิธีการสุมตัวอยางอยางงายโดย
                การจับสลากบุคลากรกลุมบริหารงานการเงินและสินทรัพย จํานวน 652 คน ใหเหลือเพียง
                242 คน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31