Page 13 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 13

8  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018

                     กลุมแผนงานของรัฐบาลออสเตรเลียตอนใต (Government South Australia,
             2002) เสนอวาสิ่งที่องคการตองชัดเจนในการระบุความเสี่ยงขององคการ คือ

                     1. วัตถุประสงคขององคการ
                     2. สิ่งที่คาดวาจะเกิดขึ้นกับการดําเนินงานขององคการ
                     3. ความเขาใจในขั้นตอนในการเกิดขึ้นของความเสี่ยง
                     4. ตารางวิเคราะหความเสี่ยงที่คาดวาจะเกิดขึ้นกับผลกระทบที่คาดวาจะเกิดขึ้นกับ
             องคการ กับระดับการรับไดหรือไมไดขององคการหากความเสี่ยงดังกลาวเกิดขึ้น

                     จากแนวคิดดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาในการวิเคราะหและระบุความเสี่ยงที่จะเกิด
             ขึ้นกับองคการนั้น องคการควรมีความเขาใจบริบทแวดลอมทั้งภายในและภายนอกองคการ มี
             ความชัดเจนเกี่ยวกับวัตถุประสงคขององคการและแผนการดําเนินงานขององคการ เขาใจ

             กิจกรรมและขั้นตอนในการดําเนินกิจกรรมทั้งหมดขององคการ และสามารถคาดการณไดวา
             ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นในการดําเนินงานขององคการดังกลาว มีอะไรบาง จะเกิดขึ้นเมื่อใด
             อยางไร และจะรุนแรงมากนอยเทาใด ความเสี่ยงเหลานั้นจะสงผลกระทบตอองคการมากนอย
             เพียงใดและยอมรับไดมากนอยเพียงใด จากความเขาใจและไดคําตอบตอประเด็นตาง ๆ ที่

             เกี่ยวของกับกิจกรรมและกระบวนการดําเนินงานขององคการกับโอกาสเบี่ยงเบนที่จะเกิดขึ้น
             จากปจจัยเสี่ยงที่คาดการณไดเหลานั้นจะทําใหองคการพอจะคาดเดาความเสี่ยงและระบุ
             ประเด็นความเสี่ยงในการดําเนินงานขององคการไดพอสมควร และองคการก็อาจจะวางแผน
             ในการปองกัน หรือลด หรือขจัดความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นกับองคการไดตอไป


             การจัดทําแผนจัดการความเสี่ยง
                     การจัดทําแผนจัดการความเสี่ยง (Risk Treatment Plan Formulation) เปน
             กระบวนการในการพิจารณาวาความเสี่ยงที่ระบุไวในขั้นตอนแรกวาองคการจะดําเนินการกับ

             ความเสี่ยงเหลานั้นอยางไร เชน จะยอมรับความเสี่ยงตามที่คาดการณไวและปลอยใหเปนไป
             (Accept risks as such) หลีกเลี่ยงความเสี่ยงดังกลาว (Avoid risks) ลดความรุนแรงของ
             ความเสี่ยง (Reduce risks) ถายโอนความเสี่ยง (Risk Transfer) หรือ ประสานผูเกี่ยวของและ
             คูคาเกี่ยวกับปญหาที่จะเกิดขึ้น (Share Risks) หรือควบคุมความเสี่ยงดังกลาว (Risks

             control) เปนตน (Morden, 2007; CLUSIF, 2009; Berg, 2010) หลังจากองคการเลือก
             แนวทางในการที่จะจัดการกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ซึ่งไมวาจะเลือกแบบใดแบบหนึ่ง หรือ
             หลายแบบที่กลาวมาขางตน ควรวางแผนในการดําเนินงานขององคการเพื่อปองกัน หรือลด
             หรือขจัดความขัดแยง หรือหลายลักษณะรวมกันตอไป
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18