Page 12 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 12

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018   7

                การระบุความเสี่ยง
                        การระบุความเสี่ยง (Risk Identification) เปนขั้นตอนที่สําคัญในการจัดการความ

                เสี่ยง เพราะองคการตองรูแตตนวามีความเสี่ยงอะไรบาง อยางไร ซึ่งโดยทั่วไปแลวความเสี่ยง
                ในองคการมีสองลักษณะใหญ ๆ คือ ความเสี่ยงขององคการโดยรวม และความเสี่ยงในการ
                ดําเนินงานขององคการ
                        CLUSIF (2009) อธิบายวาเปาหมายของการจัดการความเสี่ยงมีสองประการคือ การ
                ดําเนินการโดยตรงกับความเสี่ยงแตละดานตามนโยบายการจัดการความเสี่ยงขององคการ

                และการจัดการความเสี่ยงโดยรวมและทางออมกับสิ่งที่องคการเห็นวาเปนความเสี่ยงตาม
                นโยบายการจัดการความเสี่ยงเพื่อลดความเสี่ยงเทาที่เปนไปได ในการระบุความเสี่ยงของ
                องคการจะเปนอยางไรและแบบไหน ขึ้นอยูกับลักษณะขององคการ และการนิยามความเสี่ยง

                ขององคการนั้น ๆ แตไมวาจะเปนองคการแบบไหน และนิยามความเสี่ยงวาอยางไร การระบุ
                ความเสี่ยงนั้นควรจะมีการวิเคราะหภาระงานและกิจกรรมขององคการทั้งหมด วามีอะไรบาง
                และทําอยางไร จุดวิกฤติที่อาจจะสรางปญหา หรืออุปสรรคที่อาจจะทําใหการดําเนินงานของ
                องคการไมเปนไปตามวัตถุประสงคมีอะไรบาง อยางไร หลังจากไดประเด็นความเสี่ยงของ

                องคการแลว ควรมีการประมาณการหรือคาดการณระดับผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นจากความ
                เสี่ยงเหลานั้นวาเปนอยางไร มีผลกระทบมากนอยเพียงใด เสร็จแลวประเมินความเสี่ยงของ
                ประเด็นความเสี่ยงทุกรายการเพื่อตัดสินใจในการวางแผนการจัดการความเสี่ยงตอไป
                        Berg (2010) เห็นวากอนจะระบุความเสี่ยงขององคการ ควรมีการวิเคราะหบริบท

                และสภาพแวดลอมทั้งภายนอกและภายในกอนวา บริบทเหลานั้นสงผลอยางไรตอสภาพที่
                เปนอยูขององคการ และจากขอมูลดังกลาวองคการคอยพิจารณาตอไปวาความเสี่ยงที่นาจะ
                สงผลสําคัญตอการดําเนินงานขององคการคืออะไร การใชเครื่องมือวิเคราะหองคการ เชน
                การวิเคราะหสภาวะองคการ (SWOT) ก็อาจจะชวยใหองคการระบุความเสี่ยงไดตรงประเด็น

                ยิ่งขึ้น หลังจากวิเคราะหบริบทขององคการแลว จะทําใหเราเห็นปจจัยเสี่ยงหรือภัยคุกคาม
                องคการไดชัดเจนยิ่งขึ้น สวนคําถามในการกําหนดประเด็นความเสี่ยงขององคการอาจจะมี
                ดังนี้ คือ
                       1. ความเสี่ยงที่นาจะทําใหการดําเนินงานไมบรรลุวัตถุประสงคขององคการคืออะไร

                จะเกิดขึ้นเมื่อไหร และอยางไร
                       2. ระดับความสําคัญเรงดวนของความเสี่ยงเหลานั้นที่จะสงผลตอองคการเปน
                อยางไร
                       3. ความเสี่ยงที่เปนไปไดวาความเสี่ยงที่ระบุไวไมเปนไปตามความสําคัญเรงดวนที่

                กําหนดไว มีหรือไม อยางไร
                       4. ผูที่เกี่ยวของกับความเสี่ยงขององคการมีใครบาง เชน ฝายบริหาร บุคลากรฝายใด
                ลูกคา หรือคูคาของเรา เปนตน
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17