Page 10 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 10

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018   5

                การจัดการความเสี่ยง
                        การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) หรือที่นักวิชาการบางทานเรียกวาการ

                บริหารความเสี่ยงนั้นมีแนวคิดและกระบวนการในการดําเนินงานแตกตางกันไป เชน Collins
                III และ O’Brien (2003) นิยามการจัดการความเสี่ยงไววา การดําเนินการเพื่อควบคุมหรือทํา
                ใหปจจัยที่อาจจะสงผลในลักษณะที่เปนความเดือดรอน ภัยคุกคาม ความสูญเสีย หรือ
                อันตราย และในทางการศึกษาอาจจะหมายถึงกิจกรรมที่เกิดระหวางการจัดการเรียนการสอน
                ทั้งในและนอกหลักสูตร ซึ่งสิ่งที่เกิดขึ้นดังกลาวอาจจะทําใหการเรียนการสอนไมเปนไปตาม

                แผนที่วางไว
                        CLUSIF (2009) อธิบายวาเปาหมายของการจัดการความเสี่ยงมีสองประการคือ การ
                ดําเนินการโดยตรงกับความเสี่ยงแตละดานตามนโยบายการจัดการ ความเสี่ยงขององคการ

                และการจัดการความเสี่ยงโดยรวมและทางออมกับสิ่งที่องคการเห็นวาเปนความเสี่ยงตาม
                นโยบายการจัดการความเสี่ยงเพื่อลดความเสี่ยงเทาที่เปนไปได และ CLUSIF เสนอ
                กระบวนการจัดการความเสี่ยงไว 4 ขั้นตอน คือ
                        1. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) ซึ่งมีสิ่งที่ตองดําเนินการสองเรื่องคือ

                การวิเคราะหความเสี่ยง การระบุประเด็นความเสี่ยงและประมาณการระดับความเสี่ยงกับการ
                ประเมินผลที่จะเกิดขึ้นกับความเสี่ยง
                        2. การจัดกระทํากับความเสี่ยง (Risk Treatment) ซึ่งอาจจะทําไดหลายแนวทาง
                เชน การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง การลดความเสี่ยง การยายความเสี่ยง หรือการคงความเสี่ยงไว

                ตอไป
                        3. การยอมรับกับความเสี่ยง
                        4. การสื่อสารเกี่ยวกับความเสี่ยง
                        Berg (2010) กลาวถึงความหมายของการบริหารความเสี่ยงไววา มีหลายแนวคิด บาง

                แนวคิดก็จะนิยามวาเปนกระบวนการในการตัดสินใจ แตไมรวมถึงนิยามและการวิเคราะห
                ความเสี่ยง และบางแนวคิดจะรวมกระบวนการทั้งหมดคือ การนิยามความเสี่ยง การวิเคราะห
                ความเสี่ยง และการตัดสินใจเกี่ยวกับความเสี่ยงที่ตองจัดการ เปนตน สวน Berg เองเห็นวา
                การจัดการความเสี่ยงเปนวิธีการเชิงระบบที่จะกําหนดแนวทางในการดําเนินการกับความไม

                แนนอนที่จะเกิดขึ้น โดยการระบุ วิเคราะห ทําความเขาใจ ดําเนินการ และการสื่อสาร
                เกี่ยวกับความเสี่ยงเหลานั้น และ Berg เสนอกระบวนการจัดการความเสี่ยงไวดังนี้
                       1. การกําหนดขอบเขตของบริบท (Establishing context)
                       2. การระบุประเด็นความเสี่ยง (Risk identification)

                       3. การวิเคราะหความเสี่ยง (Risk analysis)
                       4. การประเมินความเสี่ยง (Risk assessment)
                       5. การควบคุมและดําเนินการเกี่ยวกับความเสี่ยง (Risk control and coverage)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15