Page 8 - JRISS-vol.2-no3-รวมเลม_Neat
P. 8

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.3 July-September 2018   3

                        Dessler (1999) กลาววานักบริหารมักจะตองตัดสินใจในสามสถานการณ คือ
                สถานการณที่มีความแนนอน (Certainty) สถานการณที่ไมแนนอน (Uncertainty) และ

                สถานการณที่มีความเสี่ยง (Risk) โดยอธิบายวา ในสถานการณที่มีความแนนอนนั้น ผูบริหารมี
                ขอมูลและเหตุผลสนับสนุนเพียงพอวา สิ่งที่จะตัดสินใจทํานั้นมีผลเปนบวก ขณะที่ใน
                สถานการณที่ไมแนนอนนั้น ขาดทั้งขอมูลและเหตุผลสนับสนุนในการตัดสินใจวาจะสงผลไปใน
                ทิศทางใด สวนในสถานการณที่มีความเสี่ยงนั้น ผูบริหารอาจจะมีขอมูลและเหตุผลสนับสนุน
                เพียงพอ หรือคอนขางจะเพียงพอวาสิ่งที่จะตัดสินใจทํานั้น มีผลคอนขางจะเปนบวกมากกวา

                การเลือกอีกทางหนึ่ง ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของ Robbins และ Coulter (2005) โดย
                นักวิชาการทั้งสองทานนี้ ไดอธิบายและยกตัวอยางประกอบแนวคิดดังกลาว ดังนี้
                        ในสถานการณที่มีความแนนอนนั้น ผูบริหารตัดสินใจไดถูกตองเพราะผลลัพธของ

                ทางเลือกมีความชัดเจนอยูแลว เชน การที่ฝายการเงินจะตัดสินใจฝากเงินของบริษัทกับ
                ธนาคารใด เขายอมรูแตตนแลววาธนาคารไหนใหดอกเบี้ยอัตราเทาใด คํานวณรายรับลวงหนา
                ไดเลย แตในความเปนจริง สถานการณที่มีความแนนอนแบบนี้ไมคอยมี สวนใหญจะอยูใน
                สถานการณที่มีความเสี่ยงในระดับใดระดับหนึ่งเสมอ ซึ่งความเสี่ยงจะมากหรือนอย ขึ้นอยูกับ

                ขอมูลประกอบการตัดสินใจ ประสบการณ และทางเลือกที่มีอยู เชน การที่ผูจัดการสกีรีสอรท
                จะตัดสินใจเพิ่มลิฟทบริการใหกับลูกคาในบางจุดหรือไมนั้นขึ้นอยูกับทุนที่นํามาติดตั้งลิฟท
                ประวัติของหิมะตกในชวงปที่ผานมา ขอมูลลูกคาที่มาใชบริการ เพื่อพิจารณาวารายไดที่พึงได
                และรายจายที่ตองลงทุนจะคุมหรือไม หากมีแนวโนมวาคุมทุน คําตอบก็คือ “(เสี่ยง)

                ดําเนินการได” เปนตน สวนในกรณีที่มีความไมแนนอนนั้น ผูบริหารจะไมมีความชัดเจนวา
                ผลลัพธจะออกมาอยางไร และที่สําคัญคือ ไมสามารถที่จะหาเหตุผลมาสนับสนุนการตัดสินใจ
                ไดเลย ทั้งนี้เพราะมีขอจํากัดดานขอมูล ประกอบกับสถานการณเชิงจิตวิทยาที่สรางปญหาตอ
                การตัดสินใจดวย

                        Morden (2007) นิยามความเสี่ยงในมุมมองของนักยุทธศาสตรวาเพื่อประโยชน
                สูงสุดในการตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร ความเสี่ยงในการตัดสินใจขึ้นอยูกับคุณลักษณะสอง
                ประการตอไปนี้คือ ประการแรกความรูเกี่ยวกับทางเลือกที่จะตัดสินใจมีมากนอยเพียงใด และ
                ประการที่สองคือความรูเกี่ยวกับผลลัพธที่จะเกิดจากทางเลือกแตละทางเลือกที่ใช

                ประกอบการตัดสินใจ
                        นิยามความเสี่ยงในหนังสือปกขาวของ CLUSIF (2009) ตั้งอยูบนฐานของสองปจจัย
                คือ ทรัพยสินและภัยคุกคาม โดยอธิบายวาทรัพยสินขององคการ หมายถึง สิ่งมีคาขององคการ
                และปจจัยในการดําเนินงานขององคการ ซึ่งประกอบดวยทรัพยสินหลักและทรัพยสิน

                สนับสนุน ทรัพยสินหลักหมายถึงกระบวนและกิจกรรมในการดําเนินงาน กับสารสนเทศของ
                องคการ สวนทรัพยสนับสนุน หมายถึง อุปกรณที่ใชในการดําเนินงาน ซอฟตแวร เครือขาย
                การดําเนินงาน บุคลากร ขอสรุปพื้นฐานในการดําเนินงาน และสิ่งสนับสนุนอื่น ๆ ขององคการ
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13