Page 9 - JRISS-vol.2-no1
P. 9

4  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018

             แนวคิดพื้นฐานของ Adler
                     ยอมรับวาผูเขียนไมเคยไดยินหรืออานแนวคิดของ Adler มากอนจนกระทั่งไดอาน

             หนังสือ “กลาที่จะถูกเกลียด” (โยซุเกะ, นิพาดา เขียวอุไร, 2515: แปล) เมื่อเดือนที่แลว จาก
             หนังสือเลมดังกลาวทําใหผูเขียนสืบคนแนวคิดของ Adler จากหนังสือที่เขียนเกี่ยวกับจิตวิทยา
             หลายเลม และจากสื่อสืบคนทางอินเตอรเน็ต แตก็พบวาไมคอยมีใครเขียนถึงทฤษฎีของ
             Adler มากนัก ดังเชน Feldman (1996) กลาวถึง Adler ไวสั้นๆ เพียงวา Adler เปน
             นักจิตวิทยา Neo-Freudian ที่ชี้วาแนวคิดของ Freud นั้นเนนเรื่องแรงขับทางเพศที่เปนตัว

             กํากับพฤติกรรมของคนเรา ซึ่งไมนาจะจริง แตสิ่งที่เปนแรงขับของคนเรานั้นคือความตองการ
             ที่จะเปนเลิศ หรือไดสิ่งที่ดีที่สุด แตที่ประสบการณครอบงําทําใหผูใหญจํานวนไมนอยไมยอม
             เปลี่ยนแปลงตนเองและกาวขามขอจํากัดนั้นเพราะยังไมเขาใจโลกอยางเพียงพอ ทั้ง ๆ ที่ใน

             ความเปนจริงแลว คนเราสามารถเปลี่ยนแปลงไดตามเปาหมายของชีวิตที่เราปรารถนาโดยไม
             ติดยึดกับสิ่งที่เกิดขึ้นกับเราในอดีต ประสบการณอาจจะสรางบาดแผลในใจเรา แตไมสามารถ
             ทํารายเราได สวนในหนังสือของ Berk (1993) กลาวถึง Adler เฉพาะในสวนที่เปนผลงานวิจัย
             ที่เขาเปนผูวิจัยรวมเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตรของนักเรียนซึ่งพบวานักเรียนออนในวิชา

             คณิตศาสตรเปนผลมาจากผูปกครองและครูเชื่อวานักเรียนเหลานั้นขาดความสามารถดาน
             คณิตศาสตร ทําใหนักเรียนยอมรับและเปนไปตามความเชื่อของผูปกครองและครูที่ยัดเยียดให
                     Carley (2015) กลาวถึงแรงจูงใจของบุคคลตามแนวคิดของ Adler วาแตกตางไป
             จากแนวคิดของ Freud และ Klein โดยเห็นวาบุคคลสามารถเลือกที่จะเปนตามแบบที่เขา

             ตองการ จะเปนไดทั้งปจจุบันและอนาคต ไมวาชีวิตที่ผานมาเขาจะเปนเชนไร ชีวิตในปจจุบัน
             หรืออนาคตจะเปนอยางไรอยูที่การคาดการณอนาคตของตัวเองที่อยากจะเปน และ Carley
             สรุปสาระสําคัญของทฤษฎีจิตวิทยาเอกัตบุคคล (Individual Psychological Theory) ของ
             Adler ไว 6 ประการ คือ (1) บุคคลมุงมั่นจะประสบผลสําเร็จอยางมีเปาหมายไดทุกเรื่องอยาง

             อิสระและปราศจากเงื่อนไขความเปนมาของอดีต (2) การมุงมั่นสูความสําเร็จของแตละบุคคล
             ขึ้นอยูกับตัวเขาเองเปนหลัก คนอื่นหรือสภาพแวดลอมไมเปนเงื่อนไขหรืออุปสรรคแตอยางใด
             (3) ความสม่ําเสมอและเอกเฉพาะตน (และนี่คือจุดเดนที่ Adler เรียกทฤษฎีของเขาวา
             Individual Psychological Theory) คนแตละคนมีลักษณะเฉพาะของตนเองและความคง

             เสนคงวาในบุคลิกของตน (4) คุณคาในสิ่งที่บุคคลกระทําตองเปนสิ่งที่สังคมยอมรับ (5)
             โครงสรางคุณลักษณะที่บุคคลประพฤติอยูนั้นจะพัฒนาเปนตัวตนของบุคคลนั้น และ (6) พลัง
             สรางสรรคที่ควบคุมตัวตนของบุคคล ซึ่งเปนตัวกํากับและผลักดันบุคคลในการพัฒนา
             บุคลิกภาพเฉพาะตนของแตละบุคคล กลาวโดยสรุปก็คือบุคคลจะเปนอยางไรขึ้นอยูการ

             ตัดสินใจและการกระทําของตนเอง จึงไมอาจจะโทษใครหรือสิ่งแวดลอมครับ
                     แนวคิดในการเขียนหนังสือ “กลาที่จะถูกเกลียด” ตั้งอยูบนพื้นฐานแนวคิดของทฤษฎี
             Adler ดังกลาวขางตน แตเปนหนังสือที่เขียนตามแนวการสอนของ Socrates คือเปนแบบ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14