Page 7 - JRISS-vol.2-no1
P. 7

2  Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018

             come across his theory not long ago, but hit my mind, and though it might be
             useful to share today.

             Keywords: Past or Present, Affect, Our Lives

             แรงจูงใจในการเขียนบทความ
                     กวาครึ่งหนึ่งของชีวิตที่ผูเขียนเชื่อเรื่องอิทธิพลของชีวิตในวัยเด็ก ประสบการณใน
             อดีต สภาพแวดลอม รวมทั้งกรรมเกา เปนปจจัยหรือตัวกําหนดชีวิตของตัวเอง นอกจากนี้แลว

             แนวคิด ทฤษฎีที่เลาเรียนในการเตรียมตัวเปนครู โดยเฉพาะหลักจิตวิทยาตามแนวคิดของ
             Freud ทําใหผูเขียนเชื่อตามหลักคิดที่กลาวมาขางตนอยางสนิทใจ
                     ในอดีตนั้น ผูเขียนเปนคนที่สุขภาพไมคอยดี ในป 2513 เคยตรวจพบวาปวยเปนโรค

             ใบไมตับและหมอบอกวาอาจจะมีชีวิตอยูไดไมเกิน 5 ป แตก็รอด อยางไรก็ตาม ในป 2522
             เปนโรคขาดอาหารอยางรุนแรง ป 2525 เปนไวรัสตับอักเสบ ป 2528 เปนโรคสะเก็ดเงิน ป
             2530 มีไขมันในเสนเลือดสูง และปวยหนักที่สุด คือ ในป 2549 และทุกครั้งที่ปวยก็โทษกรรม
             เกาและทําใจยอมรับโชคชะตาโดยดุษฎี และเมื่อหายปวยก็นึกขอบคุณความดีที่สรางไว จึง

             เขาใจวานั่นเปนสวนเกื้อหนุนใหมีชีวิตรอดเพื่อทําดีกันตอไป อยางไรก็ดีการเจ็บปวยในป
             2549 เปนการปวยหนักถึงจุดที่เรียกวาตายแลวฟน และตองนอนรักษาตัวอยูหลายเดือน จึงได
             มีเวลานอนทบทวนวาอะไรเกิดขึ้นกับตัวเอง และทําไมการเจ็บปวยครั้งสุดทายกับที่ปวยในป
             2549 จึงทิ้งชวงเวลาหางกันเกือบ 20 ป และขณะเดียวกันลูกศิษยที่มาเยี่ยมก็มีหนังสือ วีดิ

             ทัศน เทปเสียง แนะนําการดูแลตัวเอง รวมถึงคําบรรยายธรรมะ มาฝากดวย จึงไดศึกษา
             แนวคิดเหลานั้นเพิ่มเติม
                     จากประสบการณที่ผานมา ผนวกกับขอมูลใหม และบทสรุปจากการไตรตรอง จึงได
             ขอสรุปวา (1) รางกายของคนเรามีความอดทนและพรอมจะมีชีวิตอยูมากกวาที่จะตาย (2)

             ชีวิตเราจะเปนอยางไรอยูที่การปฏิบัติตัวของเรา และ (3) การปฏิบัติตัวของเราจะเปนอยางไร
             ขึ้นอยูกับการรับรูและการตีความประสบการณของเราและการตัดสินใจ ณ ปจจุบัน มากกวา
             ปจจัยหรืออิทธิพลในอดีต จึงนํามาสูขอสรุปที่วา “กรรมเกาเปนแคปจจัยที่ทําใหไดเกิดมาใน
             ชาตินี้เทานั้น สวนชีวิตชาตินี้จะเปนอยางไรเปนการตัดสินใจและฝมือของชาตินี้ทั้งสิ้น” (สมาน

             อัศวภูมิ, 2553) ขอสรุปดังกลาวกินความรวมถึงประสบการณและการปฏิบัติตนที่ผานมาใน
             ชาตินี้ดวยวา สิ่งเหลานั้นเปนแคปจจัยใหเราเปนออยางที่เราเปนมาถึง ณ จุดปจจุบันนี้เทานั้น
             แตวันนี้หรือวันพรุงนี้จะเปนอยางไร ขึ้นอยูกับการตัดสินใจและกระทํา ณ ปจจุบันเปนสําคัญ
             นี่คือจุดเปลี่ยนของแนวคิดและชีวิตของผูเขียนในชวงสิบปที่ผานมา จากคนที่ไมเคยคิดวาจะมี

             ชีวิตอยูจนไดเกษียณอายุราชการ มาเปนคนที่ประกาศตัวเองวาจะอยูจนไดฉลองวันเกิดปที่
             100 ครับ
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12