Page 8 - JRISS-vol.2-no1
P. 8

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   3

                        ขอคนพบขางตนนี้ ไดแตนํามาใชกับตนเองและผูสนใจในวงสนทนาวงแคบทั่วไป
                มากกวาจะนําเสนอตอสาธารณะ หรือเขียนเปนบทความ แตเมื่อประมาณเดือนที่แลว ผูเขียน

                ไดซื้อหนังสือที่เขียนโดยนักวิชาการชาวญี่ปุน (โยซุเกะ, นิพาดา เขียวอุไร, 2515: แปล) ผูแตง
                ไดนําเสนอแนวคิดเชิงจิตวิทยาของ Adler ไวอยางนาสนใจมาก และเปนหนังอีกเลมที่ผูเขียน
                อานแลวไมอยากวาง และอานจนจบเลมภายในไมกี่วัน และหลังจากนั้นก็ไดศึกษาแนวคิดของ
                นักวิชาการทานนี้ตออีกในอินเตอรเน็ตและสั่งซื้อหนังสืออิเล็กทรอนิกสที่เกี่ยวของมาอานอีก
                หลายเลม จนมั่นใจและอยากนําเรื่องนี้มาแลกเปลี่ยนเรียนรูกับผูสนใจครับ แตกอนจะนําเสนอ

                สาระสําคัญในแนวคิดของ Adler ผูเขียนใครกลาวถึงแนวคิดสําคัญบางสวนของแนวคิดของ
                Freud ซึ่งเปนแนวคิดที่ตรงกันขามของ Adler ดังจะไดกลาวถึงตอไป


                แนวคิดพื้นฐานของ Freud
                        Freud มีผลงานทางวิชาการและเสนอทฤษฎีทางจิตวิทยาไวหลายทฤษฎี ที่โดงดัง
                มากสวนหนึ่งก็คือการศึกษาวิเคราะหจิต ซึ่ง Freud (Journal Psyche, 2017) ไดแบงจิต
                ออกเปน 3 ลักษณะ คือ จิตสํานึก (Conscious Mind) จิตกึ่งสํานึก (Subconscious Mind)

                และจิตใตสํานึก (Unconscious Mind) จิตสํานึกเปนสภาวะจิตที่รูตัวอยู วาคิดอะไร และทํา
                อะไร จิตกึ่งสํานึกเปนสภาวะจิตที่รับรูแตไมแสดงออกมา แตก็พรอมที่จะนํามาใชไดทุกเมื่อ
                สวนจิตใตสํานึกนั้นเปนสภาวะจิตที่ไมรูตัวตน เปนจิตจัดเก็บตระกอนความคิดและความจําไว
                เพื่อจําเปนเรียกใชในอนาคต เปนสวนที่เปนผลึกความคิด ความเชื่อ ลักษณะนิสัย หรือสันดาน

                ของบุคคล
                        Freud (Feldman, 1996) กลาวถึงโครงสรางของจิตไว 3 สวนที่สําคัญคือ อิด (Id) อี
                โก (Ego) และซุปเปอรอีโก (Superego) อิดเปนการแสดงออกตามความตองการพื้นฐานของ
                คนเราที่ยังไมไดกลั่นกรองหรือขัดเกลา คือคิดอยางไรก็ทําอยางนั้นตามใจปรารถนา สวนอีโก

                เปนการแสดงออกความตองการที่กลั่นกรอง โดยพิจารณาโดยกฎกติกา หรือปทัสถานของ
                สังคม และซุปเปอรอีโกเปนการคิดและแสดงออกตามหลักมโนธรรมหรือสิ่งที่ควรจะเปนสูงสุด
                ที่มนุษยพึงปฏิบัติตอกัน
                        นอกจากแนวคิดสําคัญทั้งสองดังกลาวขางตน Freud ยังเปนตนตํารับของจิต

                วิเคราะหและแนวคิดที่วาประสบการณในอดีตและสิ่งแวดลอม เปนปจจัยและเงื่อนไขสําคัญ
                ของการดําเนินชีวิตและพฤติกรรมของบุคคลในปจจุบัน หมายความวาคนเราจะเปนแบบไหน
                อยางไรนั้น ชีวิตในอดีตเปนตัวกําหนด
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13