Page 10 - JRISS-vol.2-no1
P. 10

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   5

                สนทนากันระหวางนักปรัชญากับชายหนุมคนหนึ่ง โดยการยกประเด็นที่เปนความเชื่อ
                โดยทั่วไปของบุคคลและแนวคิดของ Freud แลวถกเถียงและชี้ประเด็นเดียวกันในมุมมองของ

                Adler โดยสาระสรุปก็คือผูแตงซึ่งสะทอนแนวคิดของ Adler ผานนักปรัชญาเพื่อชี้ใหเห็นวา
                เหตุการณที่บุคคลประสบมาในอดีต ประสบการณ และสภาพแวดลอม ไมสามารถมีอิทธิพล
                ตอพฤติกรรมของบุคคลนั้นทั้งในปจจุบันและอนาคตได นอกจากเขาจะเลือกใชเหตุการณ
                ประสบการณ หรือสภาพแวดลอมเหลานั้นเพื่อประโยชนในเปาประสงคที่เขาตองการใน
                ขณะนั้น เชน คนที่ชอบอยูคนเดียวและไมชอบสังคม อาจจะบอกวานั่นคือชีวิตที่พอกับแม

                กระทํากับเขาตอนเปนเด็ก พอโตขึ้นเขาจึงมีนิสัยแบบนี้ ดังนั้นอยามาโทษเขานะ ทั้ง ๆ ที่จริง
                แลวถาเขาอยากจะเปลี่ยนแนวทางในการดําเนินชีวิตของเขาใหมก็ได และเปลี่ยนไดทันทีถา
                เขาตองการเปลี่ยน และการที่เขาใชอดีตมาเปนขออาง ก็เพียงเพื่อตองการอยูคนเดียวและไม

                อยากเขาสังคมเทานั้น และประโยชนซอนเรนของการที่เขาชอบอยูคนเดียวและไมเขาสังคม
                อาจจะมีอยางอื่นดวย เชน พอ แม ญาติพี่นองอาจจะสนใจและใสใจเขามากขึ้น เพื่อนฝูง
                อาจจะสนใจและหวงใยเปนพิเศษ เปนตน เขาจึงไมอยากเปลี่ยน ทั้ง ๆ ที่ถาตองการเปลี่ยนก็
                เปลี่ยนไดทันที ซึ่งแนวคิดเชนนี้ถูกใจผูเขียนอยางยิ่ง ดังกลาวมาแลวขางตน


                คนเราลิขิตชีวิตตนเองได
                        ดวยผูเขียนเกิดในสังคมศาสนาพุทธ และถูกสอนมาเกือบตลอดชีวิตวา “ชีวิตเราจะ
                เปนอยางไรขึ้นกับกรรมเกาที่เราทํา ทั้งในชาติกอนและชาตินี้” และบอยครั้งเมื่อมีใครประสบ

                เหตุใด หรือมีใครสักคนที่ตองตายจากเราไปดวยอุบัติเหตุ หรือกอนเวลาอันควร เราก็จะ
                                                  2
                ปลอบใจกันวาเขาทําบุญมาเทานั้นเทานี้ 1   ซึ่งก็เปนเรื่องที่ดีอีกแบบครับ กลาวคืออยางนอยก็
                ทําใหคนระมัดระวังการกระทําของตน หรือถามีเหตุไมบังควรเกิดขึ้นกับเราก็เปนทฤษฎีนี้ไว
                ปลอบใจไดวา “เปนเวรเปนกรรม” ขณะเดียวกันความเชื่อและความเขาใจดังกลาวก็ทําใหคน

                จํานนตอชะตากรรม และปลอยไปตามยถากรรม แทนที่จะคิดและหาทางแกไข ดังชีวิตในชวง
                ตนของผูเขียนดังกลาวมาแลว ซึ่งก็ไมทราบวาคนอื่นคิดและเปนแบบที่ผูเขียนเปนบางไหม
                        ผูเขียนเชื่อวา คนไทยที่นับถือศาสนาพุทธจํานวนหนึ่งคิดและเปนเชนที่กลาวมา

                ขางตน เชน สมมติวามีคนขี่มอเตอรไซคมาตอนกลางคืนและบังเอิญตกทอระบายน้ําที่เทศบาล
                ขุดทิ้งไว “ตาย” ก็จะบอกวา เขามีบุญมาเทานั้นและถึงที่ตายพอดี ทั้งๆ ที่ในความเปนจริง
                แลว เราสามารถปองกันได คือ มีสัญญาณไฟบอก หรือมีรั้วกั้นตลอดระยะทางที่ขุดทอ เปนตน
                ในชวงกวาครึ่งหนึ่งของชีวิตนั้น ผูเขียนยอมรับวาจํานนตอเวรกรรม เชื่อวาทุกสิ่งอยางที่เกิด
                ขึ้นกับตนเองนั้นเปนลิขิตสวรรคหรือนรก ทุกอยางไดขีดเสนชีวิตไวแลว สวนการดําเนินชีวิต

                เปนเพียงการแกไขสิ่งตางๆ ตามอาการ แตพอปวยหนักในป 2549 และไดมีเวลาไตรตรองก็
                พบวา จริงๆ แลวเรานาจะเปลี่ยนแปลงชีวิตเราได และเริ่มเปลี่ยนตนเองตั้งแตนอนรักษาตัว

                2  แก่นของศาสนาจริง ๆ สอนอย่างนั้นหรือเปล่าก็ไม่มีใครพิสูจน์ได้ครับ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15