Page 6 - JRISS-vol.2-no1
P. 6

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   1

                           อดีตหรือปจจุบันที่สงผลสําคัญกับการดํารงชีวิตของคนเรา

                  Past or Present That Importantly Affects How We Live Our lives

                                                                                            1
                                                                                สมาน อัศวภูมิ0


                บทคัดยอ
                        เชื่อวาคนสวนใหญรวมทั้งผูเขียนในอดีตดวย เคยเชื่อวาอดีตเปนปจจัยที่ทําใหเราเปน
                อยางที่เปนอยูปจจุบันและอนาคตของคนเรา แตถาผมจะเสนอวา “การรับรูและทัศนคติใน

                ปจจุบันของเราตางหากที่มีผลสําคัญตอการใชชีวิตของคนเราในปจจุบันและอนาคต” แลว
                เชื่อวาบางทานคงบอกวา ผมเสียสติไปแนๆ แตพอไดศึกษาแนวคิดของ Adler จึงพบอีก
                แนวคิดหนึ่งที่แตกตางไปจากแนวคิดของ Freud จึงเปนแรงบันดาลใจใหเขียนบทความนี้ เพื่อ
                สนับสนุนสิ่งที่ผูเขียนสนใจมากวาสิบปที่ผานมา บทความนี้มีวัตถุประสงคเพื่อชี้ใหเห็นถึง

                แนวคิดของนักทฤษฎีที่ยิ่งใหญสองทาน คนหนึ่งคือ Freud ซึ่งมีอิทธิพลตอความคิดทาง
                วิชาการของผูเขียนมากวาสี่สิบป อีกคนหนึ่งคือ Adler ซึ่งก็คงมีอิทธิพลตอวงวิชาการมา
                ยาวนานเชนกัน เพียงแตผูเขียนเพิ่งไดศึกษาแนวคิดของเขาเมื่อไมนานมานี่เอง แตตรงใจและ
                เห็นวานาจะเปนประโยชนจึงไดนํามาแลกเปลี่ยนกันวันนี้ครับ

                คําสําคัญ: อดีตหรือปจจุบัน ผลสําคัญ ชีวิตของเรา

                Abstract
                        I believed that most people, like me in the past, used to believe that

                past experiences were factors that our present and future lives depend on. But,
                if  I  propose  that  “ our perceptions of  the  past and present attitudes  pay
                important role on our present and future lives”, someone might say that I was

                insane. However, after I happened to come across Adler’s theory, I found the
                opposite theory of Freud’s. This inspired me to write this article to support my
                belief that has been my interest for the last ten years. This article aimed to
                point out the different thoughts of the two magnificent theorists. The ONE,
                Freud, who had influenced me over forty years while the OTHER, Adler, who

                might have been long influenced the academic society, but I just happened to




                1  รองศาสตราจารย, ดร. , ขาราชการบํานาญ และอาจารยพิเศษมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
                (Associate Professor, Dr., Retired Government Official and a Part Time Lecturer at Sisaket
                Rajabhat University)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11