Page 61 - JRISS-vol.2-no1
P. 61
56 Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018
n=79,639 / 200.1
n=397.99
n=398 คน
กรอบแนวคิดในการทําวิจัย
การวิจัยครั้งนี้จัดทําเพื่อศึกษาความพึงพอใจและเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของ
ประชากรในเขตเทศบาลนครเมืองอุบลราชธานีในการใชบริการ การออกกําลังกายใน
สวนสาธารณะในเขตเทศบาลนครเมืองอุบลราชธานี
ตัวแปรในการศึกษา
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม
ปจจัยสวนบุคคล ความพึงพอใจในการใชบริการ
1. เพศ สวนสาธารณะในเขตเทศบาลนครเมือง
2. อายุ อุบลราชธานี
3. ระดับการศึกษา 1. สถานที่
4. ระดับรายได 2. สิ่งอํานวยความสะดวก
5. อาชีพ
วิธีการดําเนินการวิจัย
กลุมตัวอยาง คือ ประชาชนที่มาใชบริการสวนสาธารณะในเขตเทศบาลนครเมือง
อุบลราชธานี โดยกําหนดขนาดกลุมตัวอยางจากการคํานวณดวยวิธีของ Taro Yamane
กําหนดระดับความคลาดเคลื่อนเทากับ 0.05 ไดขนาดกลุมตัวอยาง จํานวน 398 คน
เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลครั้งนี้เปนแบบสอบถาม ประกอบดวย
สวนที่ 1 เปนแบบสอบถามขอมูลสวนบุคคลจากกลุมตัวอยาง มีจํานวน 5 ขอ ไดแก
เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับรายได และอาชีพ ซึ่งมีลักษณะใหเลือกตอบเพียงขอเดียว
(Multiple Choice)
สวนที่ 2 เปนแบบสอบถามความพึงพอใจแบบมาตราวัด 5 ระดับ (Likert Scale)
จํานวน 2 ดาน ไดแก 1. ดานสถานที่ 2. ดานสิ่งอํานวยความสะดวก โดยแบบสอบถามแตละ
ขอมีตัวเลือก 5 ระดับ คือ มีความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด
สวนที่ 3 เปนแบบสอบถามใหแสดงความคิดเห็น มีลักษณะเปนแบบสอบถาม
ปลายเปด (Open-end question)