Page 66 - JRISS-vol.2-no1
P. 66

Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences : Vol.2 No.1 January-March 2018   61

                ความสะดวกมาก จึงเปนเหตุใหเพศชายมีความพึงพอใจในดานนี้สูงกวา แตกตางจากเพศหญิง
                ที่มักมาใชบริการเพียง 1-2 คน โดยจากการลงสํารวจพื้นที่พบวา การเดินหรือการวิ่ง การเตน

                แอโรบิค คือกิจกรรมที่เพศหญิง ใชในการออกกําลังกายเปนสวนมาก และปญหาที่พบในการ
                วิ่งหรือการเดินคือ แสงสวางในบางชวงของลูวิ่ง มีไมเพียงพอ พื้นผิวทางวิ่งขรุขระ ไมเรียบ ซึ่ง
                อาจทําใหเกิดอันตรายได ซึ่งผลวิจัยสอดคลองกับงานวิจัยของ ชาญลักษณ เยี่ยมมิตร (2556)
                ซึ่งไดทําการวิจัยเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษามหาวิทยาลัย
                ราชภัฏรําไพพรรณี ปการศึกษา 2554 โดยผลการวิจัยพบวา พฤติกรรมการออกกําลังกาย

                ระหวางนักศึกษาเพศชายและนักศึกษาเพศหญิงของมหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณี ป
                การศึกษา 2554 ดานเจตคติเกี่ยวกับการออกกําลังกายและดานพฤติกรรมการออกกําลังกาย
                แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .05


                ขอเสนอแนะ
                       1. ขอเสนอแนะดานสถานที่ ที่จอดรถเสี่ยงตอการถูกโจรกรรม จึงควรจะจัดให
                บริเวณที่จอดรถมีแสงสวางมากขึ้น มีกลองวงจรปดที่เพียงพอ และมีระบบรักษาความ

                ปลอดภัย เพื่ออํานวยความสะดวกแกผูที่ใชบริการสวนสาธารณะ
                       2. ขอเสนอแนะดานสิ่งอํานวยความสะดวก หองน้ํามีจํานวนไมเพียงพอและความ
                สะอาดของหองน้ํายังไมดีนัก จึงควรจัดใหมีแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาหองน้ําอยาง
                ตอเนื่อง และควรเพิ่มจํานวนของหองน้ําใหเพียงพอ

                       3. ควรมีการรณรงค หรือประชาสัมพันธอยางตอเนื่องเกี่ยวกับการออกกําลังกาย
                การรักษาความสะอาด การคัดแยกขยะ และจุดทิ้งขยะที่เพียงพอ

                เอกสารอางอิง

                Sariya. (2552). สวนสาธารณะ Public Park สืบคนเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2560 จาก
                       http://urbandevelopment-sariya.blogspot.com/2009/10/public-park-
                       1.html
                เมธา หริมเทพาธิป. (2560). ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมาสโลว (Maslow’s

                       Hierarchy of need)   สื บ ค น เ มื่ อ วั น ที่   1  ตุ ลา คม  2560.   สื บ ค น
                       https://www.gotoknow.org/posts/629839
                ชาญชลักษณ เยี่ยมมิตร. (2556). การศึกษาพฤติกรรมการออกกําลังกายของนักศึกษา
                       มหาวิทยาลัยราชภัฏรําไพพรรณีปการศึกษา 2554. วิทยานิพนธการศึกษา

                       มหาบัณฑิต สาขาวิชาการพลศึกษามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71