Page 9 - JRIHS VOL3 NO1 January - March 2019
P. 9

4  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.3 No.1 January-March 2019

                         2.4 กลุมสตรีตั้งครรภที่มีภาวะโรคกอนการตั้งครรภ ไดแก โรคเบาหวาน โรคหัวใจและ
             หลอดเลือด โรคมะเร็ง และโรคปอดเรื้อรัง ซึ่งภาวะของการเกิดโรคดังกลาว อาจทําใหการดําเนินของ

             โรครุนแรงขึ้นขณะตั้งครรภ เนื่องจากสรีรวิทยาของสตรีตั้งครรภมีการเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะระบบ
             ตางๆที่สําคัญ (target organ) จึงทําใหสตรีตั้งครรภเกิดความเสี่ยงสูง
                         จากแนวโนมดังกลาวขางตนรวมกับปจจัยเสี่ยงและสงเสริมที่พบเพิ่มขึ้น จึงทําใหสตรี
             ตั้งครรภมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้น จากปจจัยเสี่ยงและปจจัยสงเสริมในการตั้งครรภเสี่ยงสูงในสตรีตั้งครรภ
             ทั่วไป


             ปจจัยเสี่ยงและปจจัยสงเสริมของการตั้งครรภเสี่ยงสูงขณะตั้งครรภ
                     ปจจัยเสี่ยงและปจจัยสงเสริมของการเกิดภาวะเสี่ยงสูงขณะการตั้งครรภ แบงออกเปน 4

             ดานคือ ปจจัยเสี่ยงดานชีวกายภาพ (Biophysical risk factors) ปจจัยเสี่ยงดานจิตสังคม
             (Psychosocial risk factors) ปจจัยเสี่ยงดานสังคมเศรษฐกิจ (Sociodemographic risks) และ
             ปจจัยเสี่ยงดานสิ่งแวดลอม (Environmental risk factors) (กนกวรรณ ฉันธนะมงคล, 2559;
             นันทพร แสนศิริพันธ และฉวี เบาทรวง, 2560; ปยนันท ลิมเรืองรอง, 2560; อําไพ จารุวัช

             รพาณิชกุล, 2557; Cunningham, et. al, 2018; Jordan, Engstrom, Marfell & Faeley,
             2014; Simpson & Creehan, 2014) ดังนี้
                       1. ปจจัยเสี่ยงดานสรีรชีววิทยา (Biophysical risk factors) เปนปจจัยที่เกิดจากสตรี
             ตั้งครรภ หรือทารกในครรภและมีผลกระทบตอพัฒนาการ หรือการทําหนาที่ของสตรีตั้งครรภหรือ

             ทารกในครรภ หรือทั้งสตรีตั้งครรภและทารกในครรภ ซึ่งปจจัยเสี่ยงดานสรีรชีววิทยา ไดแก
                       1.1 พันธุศาสตร (Genetic) ในสตรีตั้งครรภที่มีประวัติครอบครัวหรือการตั้งครรภที่ผาน
             มา ไดแก ทารกมีภาวะพิการแตกําเนิด ความผิดบกพรองของยีนส (Defective genes), ความผิดปกติ
             ทางโครโมโซม (Chromosome anomalies), การตั้งครรภแฝด (Multiple pregnancy), ทารกแรก

             เกิดตัวโต (Giant baby หรือ Macrosomia ) ทารกแรกเกิดตัวโตกวาอายุครรภ (Large for
             Gestational Age: LGA) และความผิดปกติของการเขากันของกลุมเลือด (ABO Incompatibility) ทํา
             ใหเกิดผลกระทบตอสตรีตั้งครรภคือ การตั้งครรภแฝด เกิดความวิตกกังวล และความเครียด และ
             ผลกระทบตอทารกในครรภ คือ ทารกเกิดความพิการแตกําเนิด มีความผิดปกติของโครโมโซม ทารก

             ตัวโต ทารกมีความผิดปกติในการเขากันของกลุมเลือด
                        1.2 ภาวะโภชนาการ (Nutritional status) หากสตรีตั้งครรภมีภาวะทุพโภชนาการ อาจ
             ทําใหเกิดผลกระทบตอสตรีตั้งครรภคือ น้ําหนักตัวเพิ่มขึ้นนอยหรือมากกวาเกณฑปกติ แทง
             (Abortion) หรือเจ็บครรภคลอดกอนกําหนด ผลกระทบตอทารกในครรภ คือ ทารกในครรภจะมี

             น้ําหนักนอยหรือขาดสารอาหารเรื้อรัง คลอดกอนกําหนด พัฒนาการในครรภลาชากวาอายุครรภ
             (Intra Uterine Growth Restriction) คลอดตาย (Still birth) คลอดติดขัด (Distocia) และมีความ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14