Page 10 - JRIHS VOL3 NO1 January - March 2019
P. 10

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.3 No.1 January-March 2019   5

                เสี่ยงตอการตายภายใน 7 วันแรกหลังคลอดสูง หรือในสตรีตั้งครรภที่ขาดไอโอดีน อาจทําใหทารกมี
                ความพิการทางสมอง เปนใบ และการเจริญเติบโตชะงักได

                          1.3 ความผิดปกติทางอายุรกรรมและสูติกรรม (Medical and obstetric disorders) ทั้ง
                การตั้งครรภปจจุบันและประวัติการครรภครั้งกอน เชน การมีบุตรยาก (Infertility) การตั้งครรภนอก
                มดลูก (Ectopic pregnancy) และการแทง ทารกตายคลอด หรือเสียชีวิตในระยะแรกเกิด การคลอด
                กอนกําหนด การคลอดทารกตัวใหญ จํานวนครั้งในการคลอด ประวัติการผาตัดคลอด เปนตน
                               1.3.1 ประวัติของมารดาทางอายุรกรรม (maternal medical history) ที่มีผลตอ

                การตั้งครรภไดแกโรคหัวใจ โรคทางเดินหายใจ โรคเบาหวาน โรคของตอมธัยรอยด โรคทางระบบ
                ทางเดินอาหาร โรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง และโรคไต
                               1.3.2 ประวัติการตั้งครรภปจจุบัน (current obstetric status) ไดแก การไมมา

                ฝากครรภ/ฝากครรภชา การมีเลือดออกกอนคลอด (antepartum hemorrhage) การตั้งครรภแฝด
                (multifetal pregnancies) ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ (pregnancy induced
                hypertension: PIH) ถุงน้ําคร่ําแตกกอนกําหนด (premature rupture of membrane: PROM)
                ทารกในครรภพัฒนาการลาชา (intra uterine growth retardation: IUGR) การตั้งครรภยาวนาน

                (prolonged pregnancy) ทารกในครรภผิดปกติ (abnormal fetus) ทารกในครรภอยูในทาและสวน
                นําผิดปกติ (abnormal presentation and position) และภาวะน้ําคร่ํามากหรือนอยกวาปกติ
                (polyhydramnios and oligohydramnios)
                          1.4 ปจจัยดานพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับสุขภาพ (Health behavior risks) เชน การสูบ

                บุหรี่ (smoking) ของสตรีตั้งครรภหรือการสูดดมควันบุหรี่ การบริโภคเคเฟอีน (Caffeine) ที่อาจ
                สงผลกระทบใหทารกแรกเกิดเสี่ยงตอการเกิดน้ําหนักนอย (Low Birth Weight: LBW) เพิ่มอัตราการ
                ตายของทารกแรกเกิด (Neonatal Mortality Rate: NMR) แทง (abortion) คลอดกอนกําหนด (pre-
                term labor) ถุงน้ําคร่ําแตกกอนกําหนด (Premature Rupture of Membrane: PROM) นอกจากนี้

                การบริโภคหรือดื่มแอลกอฮอล (Alcohol) และการใชยาและสารเสพติด (Drugs) อาจทําใหทารกเกิด
                ภาวะติดแอลกอฮอล (Fetal Alcohol Syndromes: FASs), ทารกไดรับผลกระทบจากแอลกอฮอล
                (Fetal Alcohol Effects: FAEs), การบกพรองทางการเรียนรู (Learning disabilities: LD), สมาธิสั้น
                (Hyperactivity) เปนตน

                       2. ปจจัยเสี่ยงดานจิตใจ (Psychosocial risks) ไดแก ปจจัยเสี่ยงดานจิตใจของสตรีตั้งครรภ
                ไดแก การปรับเปลี่ยนและเตรียมตัวในการเปลี่ยนบทบาทสูการเปนมารดา และยังเกี่ยวของกับสภาพ
                จิตใจของสตรีตั้งครรภที่อาจสงผลตอการดูแลครรภ คลอด และหลังคลอด ไดแกสภาวะจิตอารมณ
                ความเครียด การจัดการกับความเครียด สถานภาพและบทบาทในครอบครัว (Family status and

                family roles factors) เชน การขาดผูสนับสนุนดูแลขณะตั้งครรภ สถานภาพครอบครัวที่แตกแยก
                การขัดแยังในบทบาทของการเปนแม (Mothernal role conflict) ยอมสงผลกระทบตอการดูแล
                ครรภใหเปนไปตามคุณภาพ การดูแลตนเองที่ไมดีขณะตั้งครรภ อาจทําใหเกิดผลกระทบตอการฝาก
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15