Page 8 - JRIHS VOL3 NO1 January - March 2019
P. 8

Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.3 No.1 January-March 2019   3

                มักเกี่ยวของกับภาวะเสี่ยงสูงที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ (WHO, 2016) ทั้งนี้การเกิดความเสี่ยง
                สูงขณะตั้งครรภนั้นมีสาเหตุมาจากปจจัยเสี่ยงและปจจัยสงเสริมตางๆ

                        สถานการณและแนวโนมครรภเสี่ยงสูงในประเทศไทย พ.ศ. 2558 (กระทรวงสาธารณสุข,
                2558) พบวาการตายของมารดารอยละ 56.6 มาจากสาเหตุที่ปองกันไดคือ การตกเลือดหลังคลอด
                และ 2 ใน 3 ของการตาย เกิดจากการเกิดโรคหรือภาวะแทรกซอนระหวางการตั้งครรภ หรือภาวะ
                โรคที่สตรีตั้งครรภเคยเปนอยูแลว และจากการสํารวจในป พ.ศ. 2559 (กระทรวงสาธารณสุข, 2558)
                พบวาอัตราสวนการตายของมารดาเปน 26.6 ตอการเกิดมีชีพ 100,000 ราย (เกณฑเปาหมายไมเกิน

                15 ตอการเกิดมีชีพ 100,000 ราย) อัตราตายของทารกแรกเกิด (28 วันหลังคลอด) เปน 3.5 ตอ
                1,000 ทารกเกิดมีชีพ (เกณฑเปาหมายไมเกิน 5 ตอ 1,000 ทารกเกิดมีชีพ) และยังพบวาทารกแรก
                เกิดน้ําหนัก ≤ 2,500 กรัม เปนรอยละ 11.1 (เกณฑเปาหมายไมเกินรอยละ 7) จากสถิติดังกลาว

                พบวาแนวโนมของการตั้งครรภเสี่ยงสูงที่มีผลกระทบตอภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภและทารกใน
                ครรภยังคงมีอัตราสูงกวาเกณฑเปาหมายที่กระทรวงสาธารณสุขและองคการอนามัยโลกไดกําหนด
                เปาหมายไว เนื่องจากปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคม รวมกับมีความกาวหนาของเทคโนโลยี ที่
                เขามามีบทบาทในการดําเนินชีวิตประจําวันของสตรีตั้งครรภ (กรรณิการ กันธะรักษา, 2562) ไดแก

                     1. ความกาวหนาของเทคโนโลยีชวยการเจริญพันธที่กาวหนาทําใหสตรีตั้งครรภสามารถ
                ตั้งครรภไดแมอายุมากขึ้น ซึ่งทําใหเกิดความเสี่ยงตอการตั้งครรภจากการตั้งครรภอายุครรภ
                    2. ปจจัยเสี่ยงทางดานพฤติกรรม
                      2.1. พฤติกรรมการบริโภคที่ปจจุบันพฤติกรรมของสตรีตั้งครรภสวนใหญนิยมอาหารปง

                ยาง อาหารสําเร็จรูป อาหาร fast food เปนตน ไปรวมกับการทํางานที่พึ่งพาเทคโนโลยีเปนสวนใหญ
                ทําใหสตรีตั้งครรภมีภาวะน้ําหนักเกินและภาวะอวน ทําใหเสี่ยงตอภาวะแทรกซอนขณะตั้งครรภ
                เพิ่มขึ้น เชน ภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภ ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ คอเลสเตอรอลในเลือดสูง
                เปนตน

                      2.2 สภาพสังคมที่เปลี่ยนไปทําใหสตรีตั้งครรภมีพฤติกรรมเสี่ยงในการใชยาและสารเสพ
                ติด เชน เครื่องดื่มแอลกอฮอล บุหรี่ แอมเฟตามีน เปนตน ทําใหทารกในครรภเสี่ยงตอการเกิดความ
                พิการ
                            2.3 พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศเพิ่มขึ้น จากคานิยมทางเพศที่เปลี่ยนไป การมีเพศสัมพันธ

                กอนวัยอันควร ซึ่งปจจุบันพบการตั้งครรภเร็วขึ้นในวัยเด็กและวัยรุน ทําใหเกิดการตั้งครรภไมพึง
                ประสงคและการตั้งครรภไมพรอม สถิติวัยรุนไทยคลอดบุตรเฉลี่ยวันละ 370 คน มีจํานวนมากเปน
                อันดับของภูมิภาคอาเซียน รองจากประเทศลาว นอกจากนี้ยังพบวาปจจุบันยังพบวาสตรีตั้งครรภมี
                ความเสี่ยงตอการมีเพศสัมพันธที่ไมปลอดภัย มีความเสี่ยงตอการติดเชื้อของโรคติดตอทาง

                เพศสัมพันธเพิ่มขึ้น รวมถึงการกลับมาระบาดของการติดเชื้อซิฟลิส ซึ่งพบมากขึ้นในกลุมสตรี
                ตั้งครรภเชนกัน
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13