Page 7 - JRIHS VOL3 NO1 January - March 2019
P. 7

2  Journal of Ratchathani Innovative Health Sciences :  Vol.3 No.1 January-March 2019

             บทนํา
                 การตั้งครรภเสี่ยงหรือการเกิดภาวะแทรกซอนขณะตั้งครรภที่พบรวมกับการตั้งครรภ อาจมี

             ผลเสียทั้งทางรางกายหรือจิตใจตอมารดาหรือทารกในครรภ ซึ่งการตั้งครรภเสี่ยงหรือการเกิด
             ภาวะแทรกซอนขณะตั้งครรภที่พบ อาจเปนไดทั้งภาวะที่ไมมีอันตรายไปจนถึงภาวะที่อาจเปน
             อันตรายถึงชีวิตของทั้งมารดาหรือทารกในครรภได ดังนั้นพยาบาลผดุงครรภจึงควรมีการเขาใจ
             เกี่ยวกับความหมาย ปจจัยเสี่ยง เพื่อชวยในการประเมินความเสี่ยงของการตั้งครรภ การวินิจการ
             ตั้งครรภเสี่ยง รวมถึงใหการพยาบาลสตรีตั้งครรภอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ จะชวยใหการ

             ตั้งครรภเสี่ยงสูงนั้นมีความปลอดภัย และลดอัตราการตายของมารดาและทารกในครรภได

             สถานการณและแนวโนมการตั้งครรภเสี่ยงสูง

                     การตั้งครรภเสี่ยงสูง (High risk pregnancy) หมายถึง การตั้งครรภที่สตรีตั้งครรภและ/หรือ
             ทารกในครรภ มีความเสี่ยงเปนอันมากหรืออยางสูงที่จะเกิดภาวะทุพพลภาพ และ/หรือเสียชีวิต
             ระหวางการตั้งครรภ ขณะคลอด และหลังคลอด (WHO, 2016) จากการสํารวจของ องคการอนามัย
             โลกในป ค.ศ. 2018 พบวาการตายของมารดาทั่วโลกมีจํานวนรวม 140,000 รายรายตอป เฉลี่ย

             เปน 830 รายตอวันจากจํานวนการตั้งครรภ/การคลอดบุตร โดยพบวาแนวโนมอัตราตายของ
             มารดา (Maternal Mortality Rate: MMR) (จํานวนมารดาที่ตายดวยสาเหตุเนื่องมาจากการ
             ตั้งครรภ คลอด และหลังคลอดภายใน 42 วันหลังคลอด เมื่อเทียบกับจํานวนเด็กเกิดมีชีพในป
             เดียวกัน 100,000 คน) ตั้งแตป ค.ศ. 1990 – 2013 ทั่วโลกมีอัตราการตายมากสุดในภูมิภาคของ

             ทวีปแอฟริกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต และตะวันออกกลาง ตามลําดับ และรอยละ 99 เกิดขึ้น
             ในประเทศที่กําลังพัฒนา กลุมประเทศยากจน หางไกลความเจริญ และมีปญหาในการ
             ติดตอสื่อสาร นอกจากนี้เมื่อพิจารณาตามกลุมวัยของมารดา พบวากลุมมารดาที่ตั้งครรภวัยรุน มี
             ปญหาการตั้งครรภเสี่ยงสูง ความผิดปกติขณะตั้งครรภ และมีอัตราเสียชีวิตมากกวาสตรีตั้งครรภ

             ชวงวัยอื่น ดังนั้นทักษะการดูแลใหการรักษาและพยาบาลกอนการตั้งครรภ ระหวางการตั้งครรภ
             และภายหลังการคลอดบุตรจากบุคลากรทางการแพทยและพยาบาลจึงเปนสิ่งสําคัญในการลด
             อัตราการตายของมารดาและทารก (WHO, 2018)
                      การตั้งครรภเสี่ยงสูง พบไดประมาณรอยละ 7 - 21 ของการตั้งครรภปกติ โดยผลกระทบตอ

             มารดาพบวาการตั้งครรภเสี่ยงสูงที่มารดามีภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertensive disorder) การ
             ติดเชื้อ (Infection) การตกเลือด (Hemorrhage) และภาวะลิ่มเลือดอุดกั้นของปอด (Pulmonary
             embolism) เหลานี้ เปนสาเหตุที่ทําใหเกิดการเสียชีวิตของการตั้งครรภและการคลอดทั่วโลก
             นอกจากนี้การตั้งครรภเสี่ยงยังมีผลกระทบตอทารกในครรภและทารกแรกคลอด สงผลใหเกิดการ

             เสียชีวิตของทารก (Neonatal death) ที่อาจมีสาเหตุจากความพิการแตกําเนิด (Congenital
             anomalies)  การคลอดกอนกําหนด (Preterm labor) น้ําหนักตัวแรกคลอดนอย (Low birth
             weight: LBW) กลุมอาการของทางเดินหายใจลมเหลว (Respiratory Distress Syndrome: RDS) ซึ่ง
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12